เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตุลาคม 2556
2 แนวทางของสำนักงาน ก. พ. ในการกำหนด ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย เลือกใช้เทคนิควิธีการวัดวิธีใดวิธีการหนึ่งหรือหลายวิธีผสม กันก็ได้ การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer- Focused Method) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue-Driven) สรุปตัวชี้วัดลงในแบบสรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ระบุค่าเป้าหมาย โดยแยกออกเป็น 5 ระดับลงในแบบฟอร์ม กำหนดน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัด
3 ข้อควรระวังในการกำหนดตัวชี้วัด ควรมีการกำหนดมาตรฐานงานของแต่ละกลุ่มงาน (KPIs basket) อันจะนำไปสู่ การกำหนดตัวชี้วัดที่ สะท้อนปริมาณงาน และคุณภาพของงาน ควรประกาศตัวชี้วัดให้ทราบทั่วกัน เพื่อความยุติธรรม โดยไม่ควรเลือกตัวชี้วัดทีมที่จะเกิด Free Rider ได้ทุกตัว ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับการบริหารเวลาและความถูกต้อง รวมถึง คุณภาพของงานควรแฝงอยู่ใน การกำหนดตัวชี้วัด ไม่ ควรเรื่องตัวชี้วัดเชิงปริมาณ และเชิงความสำเร็จใน กระบวนการทั้งหมด ระดับความยาก / ง่าย ของตัวชี้วัดของแต่ละบุคคลใน ระดับชั้นงานเดียวกัน ภายใต้กลุ่มงานเดียวกัน ควรอยู่ใน ระดับเดียวกันอย่างเป็นธรรม ตัวชี้วัดไม่ควรมากเกินไป และมีลักษณะเป็นงานประจำ ตัวชี้วัดต้องสามารถจำแนกผลการปฏิบัติงานจริงๆ หรือ พฤติกรรมรายบุคคลที่โดดเด่นและแตกต่างในงานจริง
4 ตัวชี้วัดผลงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย คะแนน ( ก ) น้ำหนัก ( ข ) รวม คะแนน ( ก x ข )/ ค่าเฉลี่ยร้อยละความสำเร็จตามเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ในบันทึกข้อตกลงประเมินผล การดำเนินการของหน่วยงานประจำปี น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 60% มากกว่า 60-70% มากกว่า % มากกว่า 80-90% มากกว่า % 5 ค่าเฉลี่ยร้อยละความสำเร็จตามเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ในแผนการบริหารงานของ กลุ่มงาน / ฝ่ายงานที่รับผิดชอบ น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 60% มากกว่า 60-70% มากกว่า % มากกว่า 80-90% มากกว่า % 5 ตัวชี้วัดมาตรฐานตัวที่ ตัวชี้วัดมาตรฐานตัวที่ ข้อเสนอการกำหนดตัวชี้วัดมาตรฐาน คณะที่ปรึกษาเสนอตัวชี้วัดมาตรฐานการทำงานเป็นทีมของหน่วยงาน แล้วไป กำหนดตัวชี้วัดระดับตำแหน่งต่อไป กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3
5 มีการจัดทำตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายมาตรฐาน ร่วมกับ คณะทำงานในหน่วยงาน โดยเริ่มจากร่างตัวชี้วัดตาม ตำแหน่งงานที่กำหนดขึ้น ตรงกับภารกิจของตำแหน่งงาน / หน่วยงาน สนับสนุนให้เกษตรกร หรือ องค์กรได้รับประโยชน์ สูงสุด ปรับแต่งให้เป็นมาตรฐานเดียวกันในองค์กร ข้อเสนอการกำหนดตัวชี้วัดมาตรฐาน
6 ตัวชี้วัดข้อ 1 เห็นด้วยในทางเลือก ไหน ใน 4 ทางเลือก หรือมีทางเลือก อื่น 0 เลยสำหรับสำนัก / กองที่ไม่มีตัวชี้วัด ตามคำรับรอง ให้ 3 ทันที ให้หาค่าเฉลี่ยขององค์กรมาเป็น คะแนนในส่วนนี้ ให้เลือกตัวชี้วัดอื่นมาสนับสนุน ตัวชี้วัดข้อ 2 กลุ่มงานให้คิดมา ตัวชี้วัดมาตรฐานข้อ 3-4 ให้ไปเลือก จากตัวชี้วัดและเป้าหมายเฉพาะของ ระดับชำนาญการพิเศษ สิ่งที่ขอความอนุเคราะห์