สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี 54 2. นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น. ณ ห้องประชุมข้างห้องประกันสุขภาพ

ใบงานที่ 7 ทบทวนความสำเร็จนโยบายปี 54และกำหนดนโยบายตังชี้วัดสำคัญ ปี 55 นโยบายปี 54ตัวชี้วัดผลสำเร็จ สร้างเสริมสุขภาพสู่คนชลบุรีสุขภาพดี ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการองค์กรลดพุง ต้นแบบ ผลงานรายอำเภออยู่ระดับ 3 อยู่ใน เกณฑ์ปานกลาง แต่เมื่อพิจารณาใน ภาพรวมทั้งจังหวัดผ่านเกณฑ์ สามารถดำเนินการองค์กรไร้พุง ต้นแบบได้มากกว่า 2 องค์กร สร้างกระแส และรณรงค์ การสร้างสุขภาพเชิงรุก รณรงค์สร้างกระแสด้าน พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ผลงานรายอำเภออยู่ในระดับ 3 เกณฑ์ปานกลาง ขาดการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน

ใบงานที่ 8 นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Function ที่ตัวชี้วัดBaseline ปี 54 ผลสำเร็จ F8 ร้อยละของสตรีอายุ ปี ได้รับการตรวจคัด กรองมะเร็งปากมดลูก(ร้อยละ 35) ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ F9ร้อยละของผู้ฆ่าตัวตายไม่สำเร็จได้รับการดูแล บำบัดรักษาและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง(ร้อยละ 85) ร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์ F10โรงเรียนของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในระดับทอง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับทอง (ร้อยละ 60) ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ F11ร้อยละความครอบคลุมของการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยยา เสพติดผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต:บสต.1-5(ร้อยละ 85) ร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์ F12ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครงการสายใยรัก แห่งครอบครัว ระดับ 5 ผ่าน เกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ F13ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครงการชุมชน ต้นแบบด้านการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก ระดับ 5 ผ่าน เกณฑ์ ผ่านเกณฑ์

ใบงานที่ 9 ทบทวนความสำเร็จนโยบายปี 54และกำหนดนโยบายตังชี้วัดสำคัญ ปี 55 นโยบาย ปี 55ตัวชี้วัด รวมพลังความร่วมมือของ ภาคีเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อน มาตรการทางสังคม U1 ระดับความสำเร็จการ ดำเนินงานโครงการป้องกัน การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น U2 ร้อยละของการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก

ใบงานที่ 10 นำเสนอTemplate Agenda Function

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาพเชิง รุก ชื่อตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครง การป้องกันการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น (Agenda) คำอธิบายตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครงการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง จำนวนหญิงคลอดและหญิงแท้ง อายุ ปี มีอัตราไม่เกิน 52 ต่อพันประชากร เกณฑ์ชี้วัดเชิงปริมาณ ระดับคะแนนเกณฑ์การให้คะแนน 1อัตรามากกว่า 56.0 / พัน 2อัตรา / พัน 3อัตรา / พัน 4อัตรา / พัน 5อัตรา น้อยกว่าหรือเท่ากับ 44.0 จำนวนหญิงคลอดและหญิงแท้งอายุ ปี*1000 จำนวนหญิงอายุ 15 – 19 ปี

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาพเชิง รุก ชื่อตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครง การป้องกันการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น (Agenda) คำอธิบายตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครงการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง จำนวนหญิงคลอดและหญิงแท้ง อายุ ปี มีอัตราไม่เกิน 52 ต่อพันประชากร เกณฑ์ชี้วัดเชิงคุณภาพ ระดับคะแนนเกณฑ์การให้คะแนน 1มีแผนงาน/ โครงการ/งบประมาณรองรับ (มีการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มาใช้ในการทำแผน) 2มีกิจกรรม 1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบูรณาการทุกภาคีเครือข่ายที่ เกี่ยวข้อง(สาธารณสุข,ศึกษา,พม.,ท้องถิ่น) 2. มีการรณรงค์สร้างกระแสการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 3. มีการกำหนดมาตรการการดำเนินงานในชุมชน 4. มีการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการและมีกิจกรรมการ ดำเนินงานของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 3มีการรายงานผลการดำเนินงานทุกเดือน 4มีการสรุปวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนแก้ไข 5มีนวตกรรมการดำเนินงาน จำนวนหญิงคลอดและหญิงแท้งอายุ ปี*1000 จำนวนหญิงอายุ 15 – 19 ปี

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาพเชิง รุก ชื่อตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครง การป้องกันการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น (Agenda) คำอธิบายตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครงการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง อัตราคลอดของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ลดลงร้อยละ 2.5 ของปีที่ผ่านมา ต่อจำนวนการคลอด ทั้งหมด เกณฑ์ชี้วัดเชิงปริมาณ ระดับคะแนนเกณฑ์การให้คะแนน 1อัตราลดลงต่ำกว่า 0.9 2อัตราลดลง 0.9 – 1.6 3อัตราลดลง 1.7 – 2.5 4อัตราลดลง 2.6 – 3.3 5อัตราลดลง มากกว่า 3.3 จำนวนหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีที่คลอดทั้งหมด * 100 จำนวนหญิงคลอดทั้งหมด โดยเปรียบเทียบในระยะเวลาเดียวกัน (ปี 2554และ2555 )

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาพเชิง รุก ชื่อตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครง การป้องกันการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น (Agenda) คำอธิบายตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโครงการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง อัตราคลอดของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ลดลงร้อยละ 2.5 ของปีที่ผ่านมา ต่อจำนวนการคลอด ทั้งหมด เกณฑ์ชี้วัดเชิงคุณภาพ ระดับคะแนนเกณฑ์การให้คะแนน 1มีแผนงาน/ โครงการ/งบประมาณรองรับ (มีการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มาใช้ในการทำแผน) 2มีกิจกรรม 1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบูรณาการทุกภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (สาธารณสุข,ศึกษา,พม.,ท้องถิ่น) 2. มีการรณรงค์สร้างกระแสการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 3. มีการกำหนดมาตรการการดำเนินงานในชุมชน 4. มีการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการและมีกิจกรรมการ ดำเนินงานของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 3มีการรายงานผลการดำเนินงานทุกเดือน 4มีการสรุปวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนแก้ไข 5มีนวตกรรมในการพัฒนางานเพื่อบรรลุเป้าหมายหรือแก้ปัญหา จำนวนหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีที่คลอดทั้งหมด * 100 จำนวนหญิงคลอดทั้งหมด โดยเปรียบเทียบในระยะเวลาเดียวกัน (ปี 2554 และ 2555 )

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาพเชิง รุก ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของสตรีอายุ ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกไม่น้อย กว่าร้อยละ55 (Function) คำอธิบายตัวชี้วัด : นิยาม หญิงอายุ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ความหมาย สตรีไทยที่มีอายุ ปี(พศ.2495 – พ.ศ. 2525) ได้รับการ ตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยวิธี pap smear หรือ VIA เกณฑ์ชี้วัดเชิงปริมาณ ระดับคะแนนเกณฑ์การให้คะแนน 1น้อยกว่า ร้อยละ 35 2ร้อยละ 36 – 45 3ร้อยละ 46 – 55 4ร้อยละ มากกว่าร้อยละ 65

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาพเชิง รุก ชื่อตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของสตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ55 (Function) คำอธิบายตัวชี้วัด : นิยาม หญิงอายุ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ความหมาย สตรีไทยที่มีอายุ ปี(พศ.2495 – พ.ศ. 2525) ได้รับการ ตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยวิธี pap smear หรือ VIA เกณฑ์ชี้วัดเชิงคุณภาพ ระดับคะแนนเกณฑ์การให้คะแนน 1- มีทะเบียนรายชื่อหญิงอายุ ปี ในพื้นที่รับผิดชอบ (รพสต.) - มีสรุปจำนวนหญิงอายุ ปี ในพื้นที่รับผิดชอบ(คปสอ.) 2- มีทะเบียนรายชื่อหญิงอายุ ปี ที่ได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกในปี แยกในเขต/นอกเขต/นอกกลุ่มเป้าหมาย (รพ.สต.) - มีสรุปจำนวน/ร้อยละ การคัดกรอง ปี (คปสอ.) 3- มีทะเบียนรายชื่อผู้ที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกผิดปกติ แบ่งเป็นระดับ Low glade High glade Cancer แยกในเขต/นอกเขต/นอกกลุ่มเป้าหมาย และสรุปผล (รพ.สต.) - มีสรุปจำนวน/ร้อยละ ผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกผิดปกติ แบ่งเป็นระดับ Low glade High glade Cancer แยกในเขต/นอกเขต/นอกกลุ่มเป้าหมาย และสรุปผล (คปสอ.) 4- มีรายชื่อผู้ที่มีผลผิดปกติได้รับการรักษาและส่งต่อ พร้อมผลการรักษา (รพสต.) - มีสรุปจำนวนผู้ที่มีผลผิดปกติได้รับการรักษาและส่งต่อ พร้อมสรุปผลการรักษา (คปสอ.) 5- มีนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาหรือแก้ปัญหา

ตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ : ระดับความสำเร็จ การดำเนินงาน โครงการ ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับ คะแนน เชิงปริมาณเชิงคุณภาพ 1 คะแนนผ่านระดับ 3 ผ่านระดับ 1 2 คะแนนผ่านระดับ 3 ผ่านระดับ 2 3 คะแนนผ่านระดับ 3 4 คะแนนผ่านระดับ 3 ผ่านระดับ 4 5 คะแนนผ่านระดับ 3 ผ่านระดับ 5

ตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ : นิยาม หญิงอายุ 30 – 60 ปี ได้รับ การ ตรวจมะเร็งปากมดลูก ระดับ คะแนน เชิงปริมาณเชิงคุณภาพ 1 คะแนนผ่านระดับ 3 ผ่านระดับ 1 2 คะแนนผ่านระดับ 3 ผ่านระดับ 2 3 คะแนนผ่านระดับ 3 4 คะแนนผ่านระดับ 3 ผ่านระดับ 4 5 คะแนนผ่านระดับ 3 ผ่านระดับ 5