2.ระบบพืชบำบัดน้ำเสีย พืชกรองน้ำเสีย ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม
Thermo-siphon processes พืชน้ำ O2 แพร่ผ่านลงสู่น้ำด้วย thermo-siphon process น้ำเสีย น้ำไหลด้านข้าง O2 ชั้นน้ำ น้ำไหลแนวดิ่ง ชั้นดิน Rhizophere ชั้นทราย
Thermo-osmosis processes ออกซิเจนจากอากาศ ออกซิเจนจากการสังเคราะห์แสง การเคลื่อนย้ายออกซิเจน การเคลื่อนย้ายออกซิเจนสู่รากพืชด้วยกระบวนการ thermo-osmosis Rhizosphere Oxidized Zone น้ำ O2 ชั้นดิน ราก Reduce Zone Rhizosphere
ลักษณะสังเขปรูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย ด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำเทียม ทางน้ำเข้า คันดิน กว้าง 50 เซนติเมตร ระดับน้ำที่ระบายลงแปลง ระบบระบายน้ำออกใต้ดิน บ่อดักตะกอน ความลาดเทแปลง 1 : 1,000 พื้นบดอัดแน่น ทรายหยาบอัดแน่น หนา 20 เซนติเมตร ดินผสมทราย (3 : 1) หนา 50 เซนติเมตร ภาพตัดตามแนวยาว ทางระบายน้ำล้น ระดับน้ำสูง 30 เซนติเมตร ชั้นดินเหนียวผสมทราย (3:1) หนา 50 เซนติเมตร ชั้นทรายหยาบอัดแน่น หนา 20-30 เซนติเมตร ภาพตัดตามแนวกว้าง
ลักษณะการประยุกต์ใช้พื้นที่ชุ่มน้ำบำบัดน้ำเสีย
เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ระบบแปลงพืชป่าชายเลน
ระบบแปลงพืชป่าชายเลน การใช้พื้นที่ป่าชายเลนเสื่อมโทรมมาปรับปรุง โดยสร้างคันดินล้อมรอบ ระบายน้ำทะเลที่ขึ้นช่วงที่สูงสุดเข้า พร้อมกับปล่อยน้ำเสียเข้าเจือจาง กักไว้จนกระทั่ง เริ่มช่วงที่น้ำลงต่ำสุด จึงระบายออกพร้อมกับน้ำเริ่มลดระดับลง ปริมาณน้ำที่บำบัดได้ขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่
ผลประโยชน์จากน้ำเสีย For Agricultural Area