โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
พร้อมสาธิตวิธีการสวมใส่ และถอดอุปกรณ์ป้องกันตน
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Tuberculosis วัณโรค.
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1)
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
Crisis Management 3C 1I - Commander - Control Center - Communication
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรืออาจติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A ( H1N1 ) ผู้ป่วย Influenza-like illness : หมายถึง ผู้ป่วยเข้าข่าย สงสัยว่าเป็นโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่A ( H1N1 ) มีไข้ >𝟑𝟖°C ร่วมกับ ไอ เจ็บคอ อาจมีอาการอื่นๆเช่น คัดจมูก น้ำมูกไหล ปวดเมื่อย อาเจียน ท้องเสีย โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่

กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง โรคหอบหืดหรือโรคปอดเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคที่ทำให้ภูมิต้านทานต่ำ โรคเอดส์ โรคมะเร็ง โรคไตเรื้อรัง ภาวะความผิดปกติของเมตาโบลอซึม เช่น โรคเบาหวาน โรคทาลัสซีเมีย เด็กอายุ≤ 15 ปี ที่กำลังกินยาแอสไพรินรักษาโรค เช่น คาวาซากิ รูมาตอยด์ มีความผิดปกติทางระบบประสาท โรคลมชัก ที่จะทำให้ป้องกันการแพร่เชื้อยาก อายุ˂24 เดือน หรือมากกว่า 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ และคนที่เป็นโรคอ้วน

1-3 วัน ระยะฟักตัวของโรค ระยะแพร่เชื้อ 1วัน – 5 วัน หลังป่วย ผู้ป่วยแพร่เชื้อได้มากที่สุดใน 3 วันแรก ถ้ามีภูมิต้านทานต่ำอาจแพร่เชื้ออยู่นานหลายสัปดาห์ หรือเดือน

การรับผู้ป่วยไว้ใน รพ. ผู้ที่มีอาการน้อยหรือเป็นผู้สัมผัสที่ยังไม่มีอาการ ไม่จำเป็นต้องรับไว้ใน รพ. แนะนำวิธีการดูแลรักษาตนเอง และ วิธีการป้องกันการแพร่เชื้อที่พึงปฏิบัติ

ผู้ที่มีอาการมากหรือเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง พิจารณารับไว้เพื่อตรวจและรักษาในโรงพยาบาลตามดุลยพินิจของแพทย์

การป้องกันการแพร่เชื้อใน รพ. การแยกผู้ป่วย แยกผู้ป่วยเช่นเดียวกับโรคติดเชื้อทางเดินหายใจทั่วๆไป 1.ผู้ป่วยนอก ให้ผู้ป่วยที่มีอาการ ใช้ surgical mask 2 . ผู้ป่วยใน ให้อยู่ในห้องแยกเดี่ยว

การป้องกันการรับเชื้อ ผู้ที่เข้าใกล้ผู้ป่วยในระยะน้อยกว่า 2 เมตร หรืออยู่ในสถานที่ที่เสี่ยงต่อการรับเชื้อหวัด ป้องกันตนเองโดยสวม surgical mask และล้างมือบ่อยๆ

การใช้ mask เพื่อป้องกันการรับเชื้อ ไวรัส A ( H1N1 ) ติดต่อทางการพูด ไอ จาม เชื้อจะสามารถกระจายในระยะไม่เกิน 2 เมตร กรณีทั่วๆ ไป แนะนำให้ใส่ surgical mask สำหรับกรณีที่เข้าใกล้ผู้ติดเชื้อขณะให้ nebulization หรือ suction เท่านั้น จึงใช้ N95 mask

วิธีใช้ surgical mask ให้ถูกต้อง 1 .เอาสีเข้มออกด้านนอก ด้านที่มีโลหะอยู่บนสันจมูก สวมคลุมจมูก-ปากและคาง 2 .ใช้แต่ละอันไม่เกิน 1 วัน เปลี่ยนเมื่อชื้นหรือขาด ทิ้งลงภาชนะที่มีฝาปิด 3 .ไม่เอามือจับ mask ที่บนใบหน้าขณะที่ใช้อยู่ ถ้าจับต้องล้างมือ

การส่งตรวจหาไวรัส เก็บ nasal swab หรือ throat swab ( ให้ได้ epithelial cells ) เฉพาะ ในผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ( influenza-like illness,ILI ) มาจากพื้นที่ที่ยังไม่เคยมีการระบาดมาก่อน ผู้ป่วย ILI ที่มีอาการมาก เช่น มีไข้สูง มีอาการหอบ ผู้ป่วย ILI ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง

การรักษาผู้ติดเชื้อ ให้ยา Oseltamivir ( ยาต้านไวรัส ) ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงและอาการยังไม่ดีขึ้น และให้ในรายที่มีอาการมาก

แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการไข้หวัดใหญ่ รพ.ค่ายกฤษณ์สีวะรา ผู้ป่วยทุกคน จุดคัดแยก มีอาการ ILI ใส่หน้ากากทุกคน ไม่มีอาการ ILI จุดแยกตรวจ รอตรวจตามปกติ ABCD stabie และอาการรุนแรง ABCD stabieและอาการไม่รุนแรง ABCD unstabie 1.สงสัยปอดอักเสบจาก Hx หรือ CXR 2.ซึมผิดปกติ มีภาวะขาดน้ำ หรือกินได้น้อย 3.อาการไม่ดีขึ้นหลัง 48 ชม.ตั้งแต่เริ่มป่วย แจ้งแพทย์ และ จนท. ER เตรียมพร้อมกันผู้ป่วยอื่นออกจาก ER มีความเสี่ยงต่อโรครุนแรง ไม่มีความเสี่ยงต่อโรครุนแรง รักษาตามอาการ ช่วยให้ ABCD stabie Admit -ไม่ต้อง Admit -ไม่ต้องส่ง Viral PCR -ไม่ต้องเริ่ม Oseltamivir เริ่ม Oseltamivir 1×2pc +/- ATB Refer ส่ง Viral PCR ตามความเหมาะสม แนะนำหากอาการไม่ดีขึ้นใน3 วัน มาพบแพทย์

พ.ต.หญิงกัญญามาส มณีนาค Thank you พ.ต.หญิงกัญญามาส มณีนาค