นิทานเวตาล น.ม.ส. เข้าสู่บทเรียน
เรามาเริ่มรู้จักกันดีกว่านะครับ แนะนำบทเรียน สวัสดีครับน้องๆ ผมชื่อเวตาลครับ เรามาเริ่มรู้จักกันดีกว่านะครับ ก่อนเรียน บทเรียน หลังเรียน ออกจากบทเรียน
พระราชประวัติผู้นิพนธ์ นิทานเวตาล เรื่องที่ ๑๐ พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ประสูติเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๑๙ ทรงศึกษาเบื้องต้นที่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง จนจบประโยค ๒ ใน พ.ศ. ๒๔๓๔ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรป ใน พ.ศ๒๔๔๐ ได้โปรดให้พระราชวรวงศ์เธอตามเสด็จ และโปรดให้ศึกษา ต่อที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เมื่อกลับจากประเทศอังกฤษแล้ว ได้ทรงเข้ารับราชการในกระทรวงคลังมหาสมบัติได้ทรงริเริ่มงานใหม่ หลายอย่างหลายอย่าง เช่น การใช้ธนบัตรแทนเงินเหรียญ การสถิติพยากรณ์และการสหกรณ์ ตำแหน่งสุดท้าย ในชีวิตราชการ คือรองเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ทรงสนระทวยและมีความสามารถในทางแต่งหนังสือเป็นพิเศษ ทรงนิพนธ์เรื่องลงในหนังสือ วชิรญาณ ทวีปัญญา และลักวิทยา ซึ่งเป็น หนังสือพิมพ์รายเดือนออกในสมัยรัชกาลที่ ๕ พระนามแฝงที่ใช้ในบทประพันธ์ คือ น.ม.ส. มาจากอักษรตัวสุดท้ายของพระนามเดิม งานวรรณกรรมที่สำคัญที่ทรงนิพนธ์มี นิทานเวตาล จดหมายจางวางหร่ำ กนกนคร พระนลคำฉันท์ และ ลิลิตสามกรุง เป็นต้น พระวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๔๘๘ เมนูหลัก
๑. ผู้เรียบเรียง นิทานเวตาล เป็นภาษาไทยคือบุคคลในข้อใด ๑. ผู้เรียบเรียง นิทานเวตาล เป็นภาษาไทยคือบุคคลในข้อใด ก. น.ม.ส. ข. ศิวทาส ค. กาลิทาส ง. โสมเทวะ
เก่งมากครับ ถูกต้องครับ ทำต่อข้อ2
ผิดครับ ลองดูใหม่ครับ กลับไปทำใหม่
๒. ข้อใดมิใช่ผลงานของผู้แต่งเรื่อง นิทานเวตาล ๒. ข้อใดมิใช่ผลงานของผู้แต่งเรื่อง นิทานเวตาล ก. กนกนคร ข. พระนลคำหลวง ค. ลิลิตสามกรุง ง. จดหมายจางวางหร่ำ
เก่งมากครับ ถูกต้องครับ เมนูหลัก
ผิดครับ ลองดูใหม่ครับ กลับไปทำใหม่
แนะนำบทเรียน สื่อการเรียนนี้เป็นเรื่องของ นิทานเวตาล สื่อการเรียนนี้เป็นเรื่องของ นิทานเวตาล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โดย นางจตุพร คุ้มตะกั่ว โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร เมนูหลัก