การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำหรับผู้มีธุรกิจยุ่งอย่างคุณ การยืดตัวที่โต๊ะคอมฯตัวโปรด ใช้เวลาประมาณ 4 นาทีเท่านั้น
Advertisements

PINKLAO USES FOR HANGING THE ARM & LEG 2010
ท่าที่ 1 บริหารลำไส้ใหญ่ (แก้ท้องผูก) คว่ำมือใช้แนวนิ้วชี้ถึงนิ้วโป้ง โค้งเป็นรูปตัว C ทั้งสองข้าง กระทบกันเบาๆ 36 ครั้ง.
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอสู่คุณโดย ภายใต้การนำอย่างมีนวัตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
นาวาโท สมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T.NURSE
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ยืดน่องส่วนบน เริ่มจากท่ายืนหันหน้าหากำแพงเท้าทั้งสองข้างแยกจากกันเล็กน้อยก้าวเท้าซ้ายออกเข่าซ้ายงอ มือ ทั้งสองยันกำแพง งอขาซ้ายให้มากขึ้น พลางขยับเท้าขวาถอยไปด้านหลังยืดกล้ามเนื้อน่องขวาค้างไว้สักครู่
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การบริหารร่างกายทั่วไป
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
พฤติกรรม 10 อันดับการทำร้ายกระดูก
Thailand Research Expo
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
การตรวจโครงสร้างร่างกาย แบบ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ตำแหน่งของลำตัวและศรีษะ
ประวัติ (ต่อ ) สภาพครอบครัว ผลกระทบจากการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
การตรวจเท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ ภายใต้การนำและนวตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
การฝึกความแข็งแรงของลำตัว
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
นิ้วหัวแม่มือกดกลางฝ่ามือ กด นับ 3 ; คลาย นับ 3 ; 5 ครั้ง
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
กบ Breast Stroke.
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
พรพรรณ เจริญวัฒนวิญญู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คลายกล้ามเนื้อแนวสันหลัง
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต ในระยะอ่อนแรง

ประเภทต่างๆของอัมพาต 1. ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก หมายถึง ผู้ป่วยที่มีภาวะการอ่อนแรงจากการขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง หรือเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ จากการแตก ตีบ ตัน ของหลอดเลือดในสมองหรืออุบัติเหตุที่กระทบกระเทือนทางสมอง

ประเภทต่างๆของอัมพาต 2. ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งท่อน หมายถึง ผู้ป่วยที่มีภาวะ การอ่อนแรงของขาข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง ซึ่งมีสาเหตุมาจากอาการบาดเจ็บของไขสันหลังตั้งแต่ ระดับอกลงมาจากการตกจากที่สูง, อุบัติเหตุบนท้องถนน, หรือการถูกยิง, แทง หรือมีเนื้องอกที่ไขสันหลัง เป็นต้น

ประเภทต่างๆของอัมพาต 3. ผู้ป่วยอัมพาตทั้งตัว หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการอ่อนแรงของแขนขาทั้ง 2 ข้าง สาเหตุเช่นเดียวกับอัมพาตครึ่งท่อน แต่จะระดับสูงกว่าคือ มีการบาดเจ็บที่ระดับคอลงมา

ปัญหาที่พบในระยะแรกของผู้ป่วย คือ การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ ผู้ป่วยจะไม่สามารถขยับแขน ขา หรือช่วยเหลือตนเองได้ จึงเกิดเป็นภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังตามมา คือ 1.การเกิดแผลกดทับ จากการนอนในท่าเดิมนาน ๆ

2.การเกิดการยึดติดของข้อและการหดรั้งของกล้ามเนื้อนานเข้าจะทำให้เกิดการผิดรูปของข้อจนแก้ไขไม่ได้ และการฟื้นฟูจะทำได้ยากขึ้น

3. การเกิดความตึงตัวของกล้ามเนื้อที่ผิดปกติ โดยในระยะแรกผู้ป่วยมีความตึงตัวน้อย แต่เมื่อผ่านไประยะหนึ่งจะเกิดความตึงตัวมาก และเกิดเป็นภาวะกล้ามเนื้อเกร็งตามมา

การป้องกันภาวะแทรกซ้อน *การจัดท่านอนเพื่อป้องกันแผลกดทับ ท่านอนหงาย

การจัดแขนและมือข้างที่เป็นอัมพาต

ท่านอนตะแคงทับข้างแข็งแรง

ท่านอนตะแคงทับข้างที่เป็นอัมพาต

ควรเปลี่ยนท่าทางทุก 2-3 ชั่วโมง จากนอนหงายเป็นนอนตะแคง ควรนอนตะแคงสลับกันทั้ง 2 ข้าง ควรพาผู้ป่วยนั่งทุกวัน

ท่าเคลื่อนไหวข้อต่อ โดยญาติทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise) การเคลื่อนไหวข้อส่วนแขน 1.การยกแขนขึ้นลง

2.การกางแขนออก

3. การหมุนแขนเข้า – ออก

4. การงอ – เหยียดข้อศอก

5. การกระดกข้อมือขึ้น - ลง

6. การกำนิ้วมือเข้า – เหยียดออก

การเคลื่อนไหวข้อส่วนขา 1.งอ- เหยียดข้อเข่าข้อสะโพก

2. หมุนข้อสะโพกเข้า- หมุนข้อสะโพกออก

3. กางขาออกและหุบขาเข้า

4. การกระดกข้อเท้าขึ้นและลง

ข้อควรปฏิบัติ ควรทำอย่างช้าๆ นิ่มนวลต่อเนื่องกันอย่างน้อย 10-20 ครั้ง วันละ 2 รอบ ควรถามอาการเจ็บปวดหรือดูสีหน้า เพราะความเจ็บปวดจะทำให้เกร็งต้านได้ ควรทำให้สุดช่วง ของการเคลื่อนไหวในแต่ละท่า