โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เมื่อกินอาหารเป็นยา จะไม่ต้องกินยาเป็นอาหาร
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
FOOD PYRAMID.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
ฝึกปฏิบัติการให้การบำบัดแบบสั้น
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
Thailand Research Expo
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
ไขมันอิ่มตัว....ไม่อิ่มตัว
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
โรคหัวใจ.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)

สามรถจำแนกได้ 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1. โรคสมองขาดเลือด หรือโรคสมองตีบอุดตัน เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต 2. โรคหลอดเลือดออกในสมอง หรือโรคหลอดเลือดสมองแตก พบได้บ่อย แต่น้อยกว่าโรคอัมพฤกษ์ พบในผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง

อาการ พบได้หลายรูปแบบ เช่น 1. พูดไม่ออก, พูดไม่ชัด 2. แขนขาอ่อนแรง โดยเฉพาะครึ่งซีกของร่างกายที่เป็น 3. ตาข้างใดข้างหนึ่งมัว, ภาพซ้อน 4. ปวดหัวอย่างรุนแรงฉับพลัน 5. งุนงง เวียนศีรษะ

ปัจจัยเสี่ยง ที่สำคัญได้แก่ 1. ภาวะความดันโลหิตสูง (เพิ่มความเสี่ยง 3-17 เท่า) เนื่องจากไปทำให้ผนังเลือดอ่อนแอจึงคิดการแตกง่าย 2. ภาวะเบาหวาน (เพิ่มความเสี่ยง 3 เท่า) การมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง จะทำให้ผนังคลอดเลือดหนาตัวขึ้น และตีบแคบ 3. การสูบบุหรี่ (เพิ่มความเสี่ยง 2 เท่า) บุหรี่จะลดปริมาณออกซิเจนในหลอดเลือด เพิ่มความหนืดของเลือด 4. ไขมันในเลือดสูง (เพิ่มความเสี่ยง 1.5 เท่า) จะทำให้เกิดก้อนไขมันเกาะติดกับผนังหลอดเลือด เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ 5. ขาดการออกกำลังกาย การออกกำลังกายช่วยการเผาผลาญน้ำตาลและไขมัน เพิ่มปริมาณการไหลเวียนของเลือดและออกซิเจน 6. นิสัยการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง 7. กรรมพันธุ์

หลักสำคัญในการควบคุมและลดวามเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 1. ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2. กินอาหารที่มีคอเลสตอรอลวันละไม่เกิน 300 มิลลิกรัม 3. ลดปริมาณไขมันที่กินให้น้อยลง (ไขมันอิ่มตัว) 4. ลดการกินขนมหวาน อาหารรสหวานจัด 5. เลือกการกินอาหารที่มีเส้นใยสูงเพิ่มขึ้น เช่น ผัก ผลไม้ ข้าวซ้อมมือ 6. งดการกินอาหารที่มีรสเค็มจัดทุกชนิด 7. เลือกประกอบอาหารด้วยวิธี อบ ตุ๋น นึ่ง ย่าง 8. หลีกเลี่ยงน้ำอัดลมหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 9. รับทานปลาทะเล สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง 10. รับทานผลิตภัณฑ์และธัญพืชไม่ขัดสีทุกวัน 11.สมุนไพรและเครื่องเทศ เช่น กระเทียมสด