บทที่ 3 Class and Object (2).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ครั้งที่ 8 Function.
File.
Object and classes.
05_3_Constructor.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
ครั้งที่ 7 Composition.
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Selected Topics in IT (Java)
การสืบทอด (Inheritance)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (2).
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
สตริง (String).
Inheritance การสืบทอดคลาส
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 7 มิถุนายน 2556 Text File Processing มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 22 มิถุนายน 2550 ความผิดพลาดที่พบ บ่อย มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 6 เมธอด.
ทำงานกับ File และStream
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
คณิตศาสตร์ และการจัดรูปแบบ
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
Lec03 :: หลักการเชิงออปเจ็ค (Object Oriented Concept)
Lec05 :: การสืบทอด (inheritance)
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Object-Oriented Programming
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
Object-Oriented Programming
คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)
การจัดการกับความผิดปกติ
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
Chapter 6 Abstract Class and Interface
การทำซ้ำ (for).
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด โครงสร้างโปรแกรม public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println(“Hello World”);
Method and Encapsulation
Inheritance and Encapsulation
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 Class and Object (2)

WEEK4 w4_000.rar การใช้งานเมธอดจากคลาสที่ต่างกัน ข้อ 10,15 การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 18 as4_000.rar การใช้งานเมธอดจากคลาสที่ต่างกัน ข้อ 16, 17 การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 19

การเรียกใช้งานเมธอดที่กำหนดขึ้นในคลาส สามารถทำได้ 2 รูปแบบ คือ ใช้งานจากคลาสที่ต่างกัน สร้างออบเจ็กต์จากคลาสที่มีเมธอดที่เราต้องการเรียกใช้งาน และเรียกใช้เมธอดผ่านออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น เมธอดดังกล่าวต้องไม่มี access modifier เป็นแบบ private ใช้งานภายในคลาสเดียวกัน เรียกผ่านชื่อเมธอดได้โดยไม่ต้องสร้างออบเจ็กต์ เมธอดดังกล่าวต้องไม่เป็นเมธอดแบบ static

ขั้นตอนการใช้งานเมธอดจากคลาสที่ต่างกัน การประกาศคลาส การประกาศแอตทริบิวต์  การประกาศเมธอด การประกาศออบเจ็กต์ การเข้าถึงสมาชิกของคลาส เรียกใช้แอตทริบิวต์หรือเมธอด ผ่านออบเจ็กต์ที่สร้าง product p = new product(); double totalPrice = p.calProduct(productPrice);

โปรแกรมข้อ 2 (1) คลาส product ประกอบด้วยเมธอดคำนวณราคารวม double calProduct(double productPrice) คิดจาก ราคาสินค้า + ภาษี (7% ของราคาสินค้า) จงเขียนโปรแกรมสร้างคลาส product และเขียนโปรแกรมรับข้อมูล เรียกใช้เมธอด แสดงผลราคาสินค้าและราคารวม ทางจอภาพ

โปรแกรมข้อ 2 (2) // Java Class >>> product.java public class product { public double calProduct(double productPrice) { return productPrice + (0.07 * productPrice); } // Java Main Class >>> ex2.java import java.util.Scanner; public class ex2 { public static void main(String[] args) { Scanner scan = new Scanner(System.in); System.out.print("Enter product price >>> "); double productPrice = scan.nextDouble(); product p = new product(); double totalPrice = p.calProduct(productPrice); System.out.println("product price = " + productPrice + " baht"); System.out.println("total price = " + totalPrice + " baht"); }

โปรแกรมข้อ 10 (1) คลาส discount ประกอบด้วยเมธอดตรวจสอบส่วนลด boolean checkDiscount(double price) ที่ราคาสินค้า มากกว่า 5,000 บาท จะมีส่วนลด 5% ของราคาสินค้า และ เมธอดคำนวณส่วนลด double calDiscount(double price) จงเขียนโปรแกรมสร้างคลาส discount และเขียนโปรแกรมรับข้อมูล เรียกใช้เมธอด แสดงผลราคาสินค้า ส่วนลด ราคาสินค้าสุทธิ (ราคาสินค้า – ส่วนลด) ในกรณีที่มีส่วนลดจึงจะเรียกใช้เมธอดคำนวณส่วนลด

โปรแกรมข้อ 10 (2) // Java Class >>> discount.java public class discount { public boolean checkDiscount(double price) { } public double calDiscount(double price) { // Java Main Class >>> ex10.java import java.util.Scanner; public class ex10 { public static void main(String[] args) { Scanner scan = new Scanner(System.in); System.out.print("Enter product price >>> "); double productPrice = scan.nextDouble(); discount d = new discount(); …………………………………. }

ขั้นตอนการใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน การประกาศคลาส การประกาศแอตทริบิวต์  การประกาศเมธอด การเข้าถึงสมาชิกของคลาส เรียกผ่านชื่อแอตทริบิวต์หรือเมธอดได้ โดยไม่ต้องสร้างออบเจ็กต์

โปรแกรมคำนวณค่าแรงเรียกใช้เมธอดจากคลาส

โปรแกรมข้อ 18 (1) คลาส login ประกอบด้วย จงเขียนโปรแกรมสร้างคลาส login และเขียนโปรแกรมเพื่อเรียกใช้เมธอดในคลาส login โปรแกรมข้อ 18 (1) คลาส login ประกอบด้วย 1) เมธอดรับข้อมูล void inputData() รับข้อมูลผู้ใช้และรหัสผ่าน และเรียกใช้ เมธอดตรวจสอบรหัสผ่าน 2) เมธอดตรวจสอบรหัสผ่าน void checkUPass(String user, String pw) ตรวจสอบข้อมูลผู้ใช้และรหัสผ่านใน userlist และเรียกใช้เมธอดแสดงผล userlist เป็นอาร์เรย์ของข้อความ ประกอบด้วยข้อมูลรหัสผู้ใช้ 6 ตัวอักษร และรหัสผ่านไม่จำกัดจำนวนตัวอักษร String[] userlist = {“7117221234”, “711735111” , “212224123”} 3) เมธอดแสดงผล void showResult(boolean passFlag) ถ้าข้อมูลผู้ใช้และรหัสผ่านตรงกัน ให้แสดงข้อความว่า Login OK! ถ้าข้อมูลผู้ใช้และรหัสผ่านไม่ตรงกัน ให้แสดงข้อความว่า Login Fail!

// Java Main Class >>> ex18. java import java. util // Java Main Class >>> ex18.java import java.util.Scanner; public class ex18 { public static void main(String[] args) { …………………………………. } โปรแกรมข้อ 18 (2) // Java Class >>> login.java import java.util.Scanner; public class login { public void inputData() { Scanner scan = new Scanner(System.in); System.out.print("Enter username >>> "); String u = scan.nextLine(); System.out.print("Enter password >>> "); String p = scan.nextLine(); checkUPass(u,p); } public void checkUPass(String user, String pw) { public void showResult(boolean passFlag) {

โปรแกรมข้อ 15 (1) : Array คลาส student ประกอบด้วยเมธอดคำนวณคะแนนต่ำสุด double calMinScore(double[] scores, int n) จงเขียนโปรแกรมสร้างคลาส student และเขียนโปรแกรมรับข้อมูลคะแนนนักเรียนจำนวนหนึ่ง (คะแนนต้องไม่เป็นค่าลบ ไม่มากกว่า 30 คะแนน) เรียกใช้เมธอด แสดงผลคะแนนของนักเรียนแต่ละคน และคะแนนต่ำสุด

โปรแกรมข้อ 15 (2) // Java Class >>> student.java public class student { public double calMinScore(double[] scores, int n) { } // Java Main Class >>> ex15.java import java.util.Scanner; public class ex15 { public static void main(String[] args) { int[] scores; int i=0; scores = new int[50]; Scanner scan = new Scanner(System.in); do { System.out.print("Enter score >>> "); …………………………………. } while(…….); student s = new student (); double min = s. calMinScore(scores); }