การเลี้ยงปลาหางนกยูง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
What is the optimum stocking rate ?
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง ขวดมหัศจรรย์พิชิตแมลงวัน
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการของพะยูน.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
************************************************
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
หมากเขียว MacAthur Palm
Wean-to-Finish (WTF) System
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ด้วงกว่าง.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลี้ยงปลาหางนกยูง

วัตถุประสงค์ในการเลี้ยงปลาหางนกยูง 1. เพื่อศึกษาหาความเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาหางนกยูง 2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3. สามารถนำความรู้ที่ได้มาไปเพาะเลี้ยงเองได้ 4. สามารถหารายได้ระหว่างเรียนได้

ลักษณะที่ดีของปลาหางนกยูง - ตัวผู้มีขนาด 3 -5 เซนติเมตร - ตัวเมียมีขนาด 5 -7 เซนติเมตร - ลักษณะลำตัว -> มีขนาดใหญ่ หนาสมส่วน ไม่คดงอลักษณ - ครีบ -> ครีบหางใหญ่ พริ้วหนา แข็งแรงสมบูรณ์ไม่ฉีกขาด ขณะ ว่ายน้ำพริ้วไม่พับ - สีและลวดลาย -> ถูกต้องตามสายพันธ์ คมเข้มชัดเจน - ความสมบูรณ์ของลำตัว -> ทรงตัวปกติ

การเพาะพันธุ์ปลาหางนกยูง การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปลาหางนกยูง เนื่องจากปลาหางนกยูง จะเจริญถึงวัยเจริญพันธุ์ เมื่อปลามีอายุเพียง 3 เดือนเท่านั้น เมื่อ ลูกปลาพอที่จะแยกเพศได้ (อายุประมาณ1- 1 1/2 เดือน ) ควร เลี้ยงแยกเพศไว้เพื่อป้องกันไม่ให้ปลาผสม พันธุ์กันเอง

น้ำที่ใช้เลี้ยง   น้ำที่ใช้เลี้ยง   ควรเป็นน้ำสะอาดปราศจากคลอรีน มีความเป็น กรด – ด่าง (pH ) 6.5 – 7.5 มีปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำไม่ ต่ำกว่า 5 มก.ต่อลิตร ความกระด้างของน้ำ 75- 100 มก.ต่อลิตร ความเป็นด่าง 100 – 200 มก.ต่อลิตร และอุณหภูมิน้ำ 25 –29 C ควรมีน้ำไหลหมุนเวียนตลอดเวลา

  อาหารที่ใช้เลี้ยง       ปลาหางนกยูงสามารถกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ในการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์จึง สามารถให้อาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็ก เช่น ลูกน้ำ ไรแดง ไรสีน้ำตาล หรือหนอนแดง หรืออาจจะเลี้ยงด้วยอาหารสำเร็จรูป ที่มีปริมาณโปรตีนไม่ต่ำกว่า 40% อาหารสดก่อนให้ ทุกครั้งควรฆ่าเชื้อโรคที่ติดมากับอาหาร โดยควรแช่อาหารในด่างทับทิมเข้มข้น 500 - 1,000 ส่วนในล้านส่วน (0.5 - 1.0 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร ) เป็นเวลาประมาณ 10 –20 วินาที ปริมาณอาหารสด ควรให้ 10% ของน้ำหนักตัวหรือให้กินแต่พออิ่ม ส่วนอาหารแห้ง ควร ให้วันละ 2 - 4 % ของน้ำหนักตัวปลา โดยให้อาหารวันละ 2 ครั้ง ในตอนเช้าและตอนเย็น

การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ การคัดเลือกปลาเพศผู้และเพศเมียเพื่อทำการผสม ควรเลือกปลาที่มี อายุ 3 เดือนขึ้นไป มีลักษณะลำตัวมีขนาดใหญ่ หนาสมส่วน ไม่คดงอ โคนหางใหญ่ แข็งแรงครีบสมบูรณ์ ครีบหางใหญ่ พริ้วหนา แข็งแรง สมบูรณ์ไม่ฉีกขาด รูปร่างได้สัดส่วน มีสีและลวดลายสวยงาม เพศผู้จะมี ลักษณะต่างจากเพศเมียตรงที่อวัยวะในการสืบพันธุ์เรียกว่า gonopodium ซึ่งดัดแปลงมาจากครีบก้น ปลาเพศผู้และเพศเมีย ควรมีลักษณะสีและ ลวดลายที่เหมือนกันหรือคล้ายกันมากที่สุด เพื่อให้ได้ลูกปลาที่ลักษณะไม่ แปรปรวนมากในการผสมพันธุ์

หมายเหตุ หากจำเป็นต้องเก็บลูกปลาที่เพาะไว้เป็นพ่อแม่พันธุ์ในครั้งต่อไป ควรหาพ่อแม่ปลาจากแหล่งอื่นมาผสมบ้าง เพื่อป้องกันการผสมเลือดชิด ซึ่งเป็นสาเหตุให้ลูกปลารุ่นต่อๆ ไป มีความอ่อนแอและมีอัตราการ

ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงปลาหางนกยูง ขั้นตอนที่ 1 เตรียมบ่อซีเมนต์ขนาด 1 - 4 ตรม. ระดับน้ำลึก 30 –50 ซม. ใส่พุ่มเชือกฟางตะกร้าหรือฝาชี เพื่อให้ลูกปลาใช้เป็นที่หลบซ่อน

ขั้นตอนที่ 2     คัดพ่อแม่ปลาสายพันธุ์เดียวกันที่ลักษณะดีสีสวยอายุประมาณ 4 –6 เดือน โดยคัดปลาเพศผู้ ลำตัวโต แข็งแรง ครีบหลัง ครีบหางใหญ่และแผ่ กว้างสีเข้มสดใส สวยงาม ส่วนปลาเพศเมียคัดเลือกสายพันธุ์เดียวกันกับ ปลาเพศผู้ ลำตัวโต แข็งแรง ปราดเปรียว ครีบหางเข้มสดใส ปล่อย รวมกันในอัตรา 120 -180 ตัว/ลบ.ม. ในสัดส่วนเพศผู้ : เพศเมีย เท่ากับ 1:3 หรือ 1:4 ระหว่างการเพาะพันธุ์ให้ไรแดงเป็นอาหารในตอนเช้า และ ให้อาหารสำเร็จรูปในตอนเย็น ปลาเพศเมียที่ได้รับการผสมแล้ว จะเห็น เป็นจุดสีดำบริเวณท้อง

ขั้นตอนที่ 3    หลังจากแม่ปลาได้รับการผสมพันธุ์ประมาณ 26 –28 วัน จะมีลูกปลา วัยอ่อนเกิดขึ้นและหลบซ่อนอยู่ตามวัสดุที่มาใส่ไว้ในบ่อให้รวบรวมลูก ปลาออกทุกวันสะสมไว้ในบ่ออนุบาล ประมาณ 4-5 วัน/ บ่อ เพื่อให้ลูกปลา มีขนาดใกล้เคียงกัน โดยปล่อยลูกปลาในอัตราความหนาแน่น 140-300 ตัว/ลบ.ม. ในระยะแรกให้ไรแดงเป็นอาหารในตอนเช้าและเย็นทุกวันเป็น ระยะเวลา 2 สัปดาห์ หลังจากนั้นจึงให้อาหารสำเร็จรูป จนกระทั่งลูกปลา มีอายุประมาณ 3 สัปดาห์ ซึ่งเป็นระยะที่เริ่มแยกเพศได้ โดยปลาเพศเมีย สังเกตจุดสีดำบริเวณรูเปิดช่องท้อง ส่วนปลาเพศผู้ เมื่อมองจากด้านบนมี รูปร่างเรียวยาวกว่าเพศเมีย

ขั้นตอนที่ 4       คัดขนาดและแยกเพศปลา นำไปแยกเลี้ยงในบ่ออัตรา 200-300 ตัว/ ลบ.ม.ให้กินไรแดงเป็นอาหารในตอนเช้าส่วนตอนกลางวันและตอนเย็น ให้กินอาหารสำเร็จรูป เลี้ยงเป็นระยะเวลา 3 เดือน (ปลามีอายุประมาณ

ขั้นตอนที่ 5 ปลาหางนกยูงอายุประมาณ 4 เดือน จะถูกคัดขนาดและคัดเลือกปลา ที่แข็งแรงสมบูรณ์ เพื่อนำไปเลี้ยงไว้ในบ่อพักปลาเพื่อเตรียมส่งไป จำหน่าย

ภาพกิจกรรมการเลี้ยงปลา

ชั้นมัยมศึกษาปีที่ ๖/๒ จัดทำโดย ๑. นายธีระชัย ถือสัตย์ ม.๖/๒ เลขที่ ๒. นางสาวปริฉัตร ลีทรายมูล เลขที ๓. นางสาวอ้อม เชื้อม่วง เลขที่ ๔. นางสาวเพ็ญพรรณ ทรัพย์มาก เลขที่ ๕. นางสาวอรวรรณ ฤกษ์นิรันดร์ เลขที่ ๖. นางสาวปวีณา แก้วประดับ เลขที่ ๗. นางสาวแพรวพรรณ มุขจร เลขที่ ๘. นางสาวรัตนาวลี รัตนจันทรา เลขที่ ชั้นมัยมศึกษาปีที่ ๖/๒