สถานบริการ ประชากร ทะเบียนผู้ป่วย จ.น.ที่คัดกรอง ร้อยละ FBS FBS FBS ≥126 พระนครศรีอยุธยา 82,050 3,319 37, ท่าเรือ 17,680.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index (BMI) ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
NCD and Aging to CCVD System Manager
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่4
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยองและคณะติดตามประเมินผล
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
คปสอ.เมืองปาน.
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
GDM and Cervical cancer screening
ผลการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงานภายใต้ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
โรคเบาหวาน ภ.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนฟื้นฟูผู้ประสพอุทกภัย โครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัวในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานความคืบหน้าการพัฒนา งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

สถานบริการ ประชากร ทะเบียนผู้ป่วย จ.น.ที่คัดกรอง ร้อยละ FBS 100-125 FBS 120-125 FBS ≥126 พระนครศรีอยุธยา 82,050 3,319 37,749 47.95 703 68 95 ท่าเรือ 17,680 1,125 11,780 71.16 1,305 98 176 นครหลวง 19,789 1,136 14,540 77.95 1,055 40 56 บางไทร 24,431 1,411 11,007 47.81 1,184 116 85 บางบาล 18,331 1,076 5,035 29.18 563 55 92 บางปะอิน 32,233 1,145 10,910 35.09 1,175 145 202 บางปะหัน 24,735 989 6,459 27.20 200 45 71 ผักไห่ 22,360 1,530 9,046 43.43 793 112 61 ภาชี 13,967 316 11,782 86.31 1,682 140 174 ลาดบัวหลวง 16,216 849 9,316 60.62 1,308 113 221 วังน้อย 31,093 1,081 16,266 54.20 2,424 150 282 เสนา 34,604 1,774 10,592 32.26 642 39 131 บางซ้าย 7,941 615 3,242 44.25 582 26 24 อุทัย 24,467 1,412 12,440 53.96 565 37 มหาราช 12,790 588 5,178 42.44 1,052 237 บ้านแพรก 38,63 244 1,047 28.93 67 1 5 รวม 386,550 18,610 176,389 47.94 15,300 1,422 1,814

แบบสำรวจวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการคัดกรองเบาหวาน อำเภอ จำนวน รพ.สต. งดอาหาร 8 ชั่วโมง หลังอาหาร มีการสอบเทียบค่าเครื่องมือ อยุธยา 18 11 7 1 ท่าเรือ 12 นครหลวง 3 9 บางไทร 23 16 6 บางบาล บางปะอิน 20 บางปะหัน 10 ผักไห่ ภาชี 4 5 ลาดบัวหลวง 8 วังน้อย เสนา 15 บางซ้าย อุทัย มหาราช บ้านแพรก รวม 180 86 94

ข้อสรุปจากที่ประชุม ให้ใช้แนวทางมาตรฐานเดียวกันทั้งจังหวัด แต่ละพื้นที่สามารถเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับพื้นที่ของตนโดยใช้มาตรฐานที่กำหนด คปสอ.ควรบริหารจัดการและสนับสนุนให้สามารถดำเนินการได้ เช่น ระบบการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ระบบส่งต่อเพื่อวินิจฉัย เชื่อมโยงข้อมูลโดยใช้ datacenter และมีการส่งต่อข้อมูลขึ้นลงเพื่อนำไปสู่การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เช่น การวางแผนกิจกรรมโครงการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีระบบกำกับติดตามผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม

เกณฑ์ความเสี่ยงสำหรับคัดกรองโรคเบาหวานในผู้ใหญ่ ผู้ที่มีอายุ 45 ปี ขึ้นไป *** (ที่ประชุมมีมติให้เริ่มคัดกรองที่ 35 ปี ตามนโยบายของกระทรวง) ผู้ที่อ้วน( BMI ≥ 25 กก./ม2 และ/หรือผู้ชายรอบเอว>90 ซม. ผู้หญิงรอบเอว>80 ซม.) และมีพ่อ แม่ พี่ หรือ น้อง คนใดคนหนึ่งเป็นโรคเบาหวาน เป็นโรคความดันโลหิตสูงหรือกินยาควบคุมความดันโลหิตอยู่ (BP ≥140/90 มม.ปรอท) มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ(HDL< 35 มก./ดล. หรือTriglycerides > 250 มก./ดล.) มีประวัติเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ หรือเคยคลอดบุตรที่น้ำหนักตัวแรกเกิดมากกว่า 4 กิโลกรัม เคยตรวจพบว่าเป็น impaired glucose tolerance หรือ impaired fasting glucose หรือ A1C ≥ 5.7% มีโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีตีบ โรคหลอดเลือดสมองตีบ(อัมพาต) สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2554). แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด. American Diabetes Association. (2013). Standards of Medical Care in Diabetes—2013. Diabetes care 2013;36 (Suppl 1) , S11-S66.

รูปแบบการคัดกรองเบาหวานในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง วิธีการเจาะเลือดจากแขนขณะอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง ( fasting plasma glucose) วิธีการเจาะเลือดปลายนิ้วด้วย DTX ขณะอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง (Fasting capillary glucose) วิธีการเจาะเลือดปลายนิ้วด้วย DTX ขณะไม่อดอาหาร (Random capillary glucose) สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2554). แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด. American Diabetes Association. (2013). Standards of Medical Care in Diabetes—2013. Diabetes care 2013;36 (Suppl 1) , S11-S66.

แนวทางการคัดกรองเบาหวาน