CHAPTER 3 System Variables and Array

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Advertisements

ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
Data Type part.II.
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
Script Programming& Internet Programming
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP Objects
Array.
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ทส215 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 1
เริ่มปฏิบัติการเบื้องต้น
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
HTTP Client-Server.
Ch 8 CGI & Perl Kulachatr C. Na Ayudhya.
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
Request Object.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
Transport Layer.
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
– Web Programming and Web Database
Php with Database Professional Home Page :PHP
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
PHP.
PHP Cookies / Session.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรในภาษา JavaScript
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
นายวีระ คงกระจ่าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การรับข้อมูลในภาษา php
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
HTML, PHP.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
ฟังก์ชัน.
เสรี ชิโนดม PHP กับ Form เสรี ชิโนดม
CHAPTER 12 FORM.
อาร์เรย์ (Arrays).
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
CHAPTER 7 String Functions and Regular Expression
HTTP (Hyper Text Transfer Protocol )
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
Uniform Resource Location ( URL)
Download PHP. C:\windows\PHP.ini cgi.force_red irect = 0 พิมพ์แทรก.
CHAPTER 6 Mathematical Functions and Date/Time Functions.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
ISP ในประเทศไทย
Secure Shell วรวิทย์ พูลสวัสดิ์.
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูล
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
CHAPTER 2 Operators.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
PHP Html Form && Query string
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CHAPTER 3 System Variables and Array

Agenda ตัวแปรระบบ ความหมายของอาร์เรย์ อาร์เรย์ของ PHP อาร์เรย์ 1 มิติ อาร์เรย์ 2 มิติ การใช้อาร์เรย์โดยกำหนดอินเด็กซ์ การใช้อาร์เรย์โดยไม่กำหนดอินเด็กซ์ อาร์เรย์ที่มีอินเด็กซ์เป็นตัวเลข อาร์เรย์ที่มีอินเด็กซ์เป็นตัวอักษร

ตัวแปรระบบ เป็นตัวแปรที่ PHP เตรียมไว้ให้สามารถเรียกใช้ได้ทันที เมื่อนำไปใช้งานต้องใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ และใส่เครื่องหมาย $ ด้านหน้าด้วย เนื่องจากเป็นตัวแปร

แสดงพาธของ Root Directory ที่อ่านครั้งแรก GATEWAY_INTERFACE ชื่อตัวแปร ความหมาย DOCUMENT_ROOT แสดงพาธของ Root Directory ที่อ่านครั้งแรก GATEWAY_INTERFACE แสดงค่าอินเทอร์เฟซของ CGI เช่น CGI/1.1 HTTP_ACCEPT_LANGUAGE ภาษาที่ใช้ในขณะนั้น เช่น th HTTP_CONNECTION แสดงสถานภาพการคอนเน็กต์ เช่น Keep-Alive HTTP_USER_AGENT แสดงประเภทและเวอร์ชั่นของโปรแกรมเว็บ บราวเซอร์ที่เรียกเข้ามา PATH_INFO แสดงชื่อเอกสาร PHP ที่กำลังทำงานอยู่ เช่นเดียวกับ Script_Name PATH_TRANSLATED แสดงพาธของสคริปต์ที่กำลังทำงานอยู่ QUERY_STRING แสดงในกรณีที่ใช้ Query_String จะแสดงสตริงที่ส่งมา ต่อท้าย URL

ชื่อตัวแปร ความหมาย REMOTE_ADDR แสดงค่า IP Address ของเครื่องไคลเอ็นต์ที่ คอนเน็กต์เข้ามา REMOTE_PORT แสดงพอร์ตของเครื่องไคลเอ็นต์ที่คอนเน็กต์เข้ามา REQUEST_METHOD แสดงการรับ - ส่งค่า เป็นแบบ GET หรือ POST SCRIPT_NAME แสดงชื่อเอกสาร PHP ที่กำลังทำงานอยู่ SERVER_NAME แสดงค่าชื่อเซิร์ฟเวอร์ SERVER_PORT แสดงพอร์ตของเซิร์ฟเวอร์ SERVER_PROTOCOL แสดงโปรโตคอลของเซิร์ฟเวอร์ SERVER_SOFTWARE แสดงซอฟต์แวร์ของเซิร์ฟเวอร์

ตัวอย่าง <? echo “Script Name:”,$SCRIPT_NAME, “<br>”; echo “Remote Address:”,$REMOTE_ADDR , “<br>”; echo “Server Port:”,$SERVER_PORT ,” “<br>”; echo “Server Software:”,$SERVER_SOFTWAR, “<br>”; > ผลลัพธ์ Script Name:/test.php Remote Address:61.91.250.61 Server Port:80 Server Software:Apache/2.0.48 (Feora)

เราสามารถอ้างถึงกลุ่มข้อมูลชุดนี้ด้วยชื่อ ตัวแปรเดียวกัน อาร์เรย์ อาเรย์หรือตัวแปรชุด คือ ชุดของข้อมูล ซึ่งโดยปกติแล้วจะมี ชนิดข้อมูล (type) เดียวกันทั้งชุด เราสามารถอ้างถึงกลุ่มข้อมูลชุดนี้ด้วยชื่อ ตัวแปรเดียวกัน ข้อมูลแต่ละตัวเรียกว่าเป็นสมาชิกของอาร์เรย์ สมาชิกแต่ละตัวจะมีดัชนี (index) หรือตัวบ่งชี้ กำกับ หรืออาจเรียกว่า subscript โปรแกรมฐานข้อมูล access

อาร์เรย์ 1 มิติ (1 Dimensional Array) อาร์เรย์ 1 มิติ คือการประกาศตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลหลาย ๆ ตัว โดยแต่ละตัวจะแทนข้อมูล 1 รายการ ดังรูป เช่น ประกาศตัวแปร $score เพื่อใช้เก็บข้อมูลคะแนนวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน 20 คน $score คะแนน นร. คนที่ 1 คะแนน นร. คนที่ 2 ... คะแนน นร. คนที่ 20 $score[0] $score[1] $score[19]

คอมฯ คณิตฯ สถิติ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 20 อาร์เรย์ 2 มิติ (2 Dimensional Array) อาร์เรย์ 2 มิติ คือการประกาศตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลหลาย ๆ ตัว โดยแต่ละตัวจะแทนข้อมูลที่อ้างอิงถึง 2 รายการ เช่น การประกาศตัวแปร $score เพื่อใช้เก็บข้อมูลคะแนนวิชาคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ และสถิติของนักเรียน 20 คน คอมฯ คณิตฯ สถิติ คนที่ 1 คะแนนวิชาคอม ฯ ของ นร. คนที่ 1 คะแนนวิชาคณิตฯ ของ นร. คนที่ 1 คะแนนวิชาสถิติ ของ นร. คนที่ 1 คะแนนวิชาคอม ฯ ของ นร. คนที่ 2 คะแนนวิชาคณิตฯ ของ นร. คนที่ 2 คะแนนวิชาสถิติ ของ นร. คนที่ 2 . คะแนนวิชาคอม ฯ ของ นร. คนที่ 20 คะแนนวิชาคณิตฯ ของ นร. คนที่ 20 คะแนนวิชาสถิติ ของ นร. คนที่ 20 คนที่ 2 คนที่ 20

การประกาศตัวแปร score เพื่อใช้เก็บข้อมูลคะแนนวิชาคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ และสถิติของนักเรียน 20 คน 0 1 2 $score[0][0] $score[0][1] $score[0][2] $score[1][0] $score[1][1] $score[1][2] . $score[19][0] $score[19][1] $score[19][2] 1 19

อาร์เรย์ 2 มิติจะมองข้อมูลในลักษณะตารางที่ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ จากตัวอย่างเป็นตารางเก็บคะแนน แถวของข้อมูลจะเป็นคะแนนที่นักศึกษาแต่ละคนที่ได้รับ คอลัมน์จะเป็นคะแนนสอบแต่ละวิชา เพราะฉะนั้นเมื่อเราอ้างถึงจุดใดจุดหนึ่งในตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ ก็จะเป็นคะแนนที่นักศึกษา 1 คนได้รับในการสอบ 1 วิชา

อาร์เรย์ใน PHP อินเด็กซ์ที่เป็นตัวเลขจะเริ่มที่ 0 แต่สามารถกำหนดอินเด็กซ์ให้เป็นตัวอักษรได้ ตัวแปรที่เป็นอาร์เรย์ไม่จำเป็นต้องประกาศ และไม่ต้องกำหนดขนาดก่อนการใช้งาน ขนาดจะปรับเปลี่ยนได้ คือขยายตามจำนวนข้อมูลที่เก็บอยู่ในอาเรย์ อาเรย์ที่มีขนาดเปลี่ยนแปลงได้นี้เรียกว่า dynamic array หรือ vector(สำหรับอาเรย์มิติเดียว)

อาร์เรย์ใน PHP ข้อมูลแต่ละตัวในอาเรย์ไม่จำเป็น ต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน เช่น อาจจะมีทั้งจำนวนเต็ม เลขทศนิยม $myarray[]=3; $myarray[]=1.1; $myarray[]="abc"; ในกรณีที่เรามิได้กำหนดอินเด็ก ก็หมายความว่า จะมีการขยายขนาดของอาร์เรย์เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งโดยอัตโนมัติ ทุกครั้งที่มีการกำหนดค่า โดยจะเก็บไว้ในที่ใหม่ของอาร์เรย์

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์โดยกำหนดอินเด็กซ์ <? $a[0]=“Mana"; $a[1]=“Manee"; $a[2]=“Chujai"; $a[3]=“Piti"; $b[0]=20; $b[1]=21; $b[2]=22; $b[3]=23; for($i=0;$i<=3;$i++) { echo"name : $a[$i] age $b[$i] <br>"; } ?> name : Mana age: 20 name : Manee age: 21 name : Chujai age: 22 name : Piti age: 23

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์โดยกำหนดอินเด็กซ์ <? $arr[0] = "Chair"; $arr[1] = 20; $arr[2] = 3.37; $arr[3] = "A"; $all = count( $arr ); for ($i=0; $i<$all; $i++){ print "Member $i =$arr[$i] <BR>"; } ?>

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์โดยไม่กำหนดอินเด็กซ์ <? $Cities[] = "San Francisco"; $Cities[] = "Los Angeles"; $Cities[] = "New York"; $Cities[] = "Martinez"; $indexLimit = count($Cities); for($index=0; $index < $indexLimit; $index++) { print("City $index is $Cities[$index]. <BR>\n"); } ?> City 0 is San Francisco. City 1 is Los Angeles. City 2 is New York. City 3 is Martinez.

ตัวแปรสตริงถือว่าเป็น Array of Charactor ตัวอย่าง <? $MyStr="ABCDEF"; $i=0; while(!($MyStr[$i]=="")) { echo "$MyStr[$i]"; $i++; } ?>

Array ที่มี index เป็นตัวเลข array([mixed….]); $province = array(“Bangkok”, “Trad”, “Chiang Mai”); for ($i=0;$i<3;$i++) { echo “province[”.$i. “] = ”; echo $province[$i]; echo “<br>”; }

range(int ค่าเริ่มต้น, int ค่าสูงสุด); $arr = range(4,9); for ($i=0;$i<count($arr);$i++) { echo "arr[".$i."] = "; echo $arr[$i]; echo "<br>"; }

การเข้าถึงข้อมูลใน Array - ฟังก์ชัน each() เป็นฟังก์ชันที่คืนค่า 2 ค่าคือ index และค่าของข้อมูล โดยที่ค่า index จะคืนด้วยฟิลด์ key และ ค่าของข้อมูลจะ คืนด้วยฟิลด์ value - ฟังก์ชัน list ทำงานเช่นเดียวกับ each() แต่จะแยก array ออกจาก กันและเก็บในตัวแปรที่กำหนด - ฟังก์ชัน reset ใช้สำหรับย้ายพอยน์เตอร์ ไปชี้ที่ค่าแรกของ array

Array ที่มี index เป็นตัวอักษร การสร้าง array ใช้ฟังก์ชัน array() $arr_list=array("Bangkok"=>36,"Tak"=>10,"Trad"=>15); while ($element = each($arr_list)) { echo "province ["; echo $element["key"]; echo "] = "; echo $element["value"]; echo "<br>"; }

ตัวอย่าง $arr_list=array("Bangkok"=>36,"Tak"=>10,"Trad"=>15); while (list($province,$amphur) = each($arr_list)) { echo "province [".$province."] have "; echo $amphur." amphurs"; echo "<br>"; }

Array หลายมิติที่มี index เป็นตัวเลข $dim = 3; for ($row=0; $row <= $dim; $row++) {   for ($column=0; $column <= $dim; $column++) {     $myarray2[$row][$column] = 4*$row + $column;     echo $myarray2[$row][$column]," ";   }   echo "<BR>\n"; }

Array หลายมิติที่มี index เป็นตัวเลข $arr_list = array(array("BKK","Bangkok",36), array("TK","Tak",10), array("TR","Trad",15)); for($row=0;$row<3;$row++) { for($col=0;$col<3;$col++) echo $arr_list[$row][$col]." "; echo "<br>"; }

Array หลายมิติที่มี index เป็นตัวอักษร $arr_list=array(array("Code"=>"BKK", "Des"=>"Bangkok","amphur"=>36), array("Code"=>"TK","Des"=>"Tak","amphur"=>10), array("Code"=>"TR","Des"=>"Trad","amphur"=>15)); for($row=0;$row<3;$row++){ echo $arr_list[$row]["Code"]." "; echo $arr_list[$row]["Des"]." "; echo $arr_list[$row]["amphur"]."<br>"; }