ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ภายใต้วิกฤติการเมือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ปฏิรูปการเมือง สถาบันทางการเมือง สิทธิเสรีภาพ ยุติธรรม เศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
การบริหารจัดการท้องถิ่น
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายการคลัง.
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
กระชุ่มกระชวย (ค.ศ ) (พ.ศ )
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง?
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
นโยบายและยุทธศาสตร์การค้า การลงทุนของประเทศไทย โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซ่า 31 สิงหาคม 2549.
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
คณะกรรมการพัฒนายุทธศาสตร์ บริหารงานของ มหาวิทยาลัยราชภัฏตามแนว ทางการปฏิรูประบบราชการ.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ภายใต้วิกฤติการเมือง ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี บลจ. เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง สัมมนาทิศทางเศรษฐกิจไทยปี 2554 “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยท่ามกลางความขัดแย้ง” โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค 24 พฤศจิกายน 2553

I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน 1971 -- การช่วงชิงอำนาจระหว่างกองทัพ (+ ข้าราชการพลเรือน) - นักการเมือง – ภาค ประชาชน ความไม่สมดุลของอำนาจ (+ ความไม่เป็นธรรมในการใช้ อำนาจ) เกิดวิกฤติการเมืองและความแตกแยก 1973 -- เหตุการณ์ 14 ต.ค. 1973-74 -- นรม.สัญญา ธรรมศักดิ์ – บริหารบนความแตกแยก ปรับนโยบายเศรษฐกิจได้มาก เพราะมีทีมเศรษฐกิจที่ทำงาน กับ นรม.ได้ดี (ยกเลิกพรีเมื่ยมข้าว ขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ พลตรีชาติชาย พบโจ เอน ไล … ฯลฯ)

I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน (ต่อ) 1975 – 1980 -- วิกฤติการเมือง ความแตกแยกรุนแรง - เปลี่ยนนรม. 6 คน 1976 -- เหตุการณ์ 6 ต.ค บริหารเศรษฐกิจได้เพียงปรับทิศทางมาสร้าง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศในเอเชีย (ฟื้นความสัมพันธ์กับจีน 1975, ร่วม ASEAN Summit 1976) 1980 – 1988 -- มีดุลยภาพของกลุ่มอำนาจต่างๆ ปรับนโยบายและโครงสร้างเศรษฐกิจได้อย่างสำคัญ โดยมีภาคอุตสาหกรรมและการส่งออกเป็นตัวนำ (ส่งออก ท่องเที่ยว ลงทุน, ลดค่าเงินบาท 2 ครั้ง ,ESB,…. ฯลฯ)

I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน (ต่อ) 1988 – 1992 -- ช่วงชิงอำนาจระหว่างนักการเมือง กับกองทัพ 1991 (ก.พ.) -- รสช.  รัฐบาล นรม. อานันท์ 1992 -- เหตุการณ์ 17 พ.ค. -- กองทัพหยุดกิจกรรมการเมือง -- ความแตกแยกไม่กระจายในวงกว้าง สามารถปรับเปลี่ยนนโยบายเศรษฐกิจได้ต่อเนื่อง เข้าสู่การเปิดเสรีทางการเงินและการค้า (เปิดเสรีอุตสาหกรรมยานยนต์, มี BIBFs และ OBUs, ข้อตกลง AFTA, ยกเลิกโควตาแท็กซี่, ... ฯลฯ)

I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน (ต่อ) 1992 – 2005 -- นักการเมืองคุมอำนาจรัฐ ความแตกแยกใน สังคมไม่ปรากฏให้เห็น - เปิดเสรีทางการเงินและการค้าต่อเนื่อง 1997/98 -- วิกฤติภาคการเงินและเศรษฐกิจ -- กอบกู้เศรษฐกิจได้สำเร็จในปี 1998 - 2000 -- ปรับทิศทางเศรษฐกิจสู่เอเชีย / แปซิฟิกโดย FTAs, RTAs -- Corporate Sector เข้มแข็ง -- เศรษฐกิจขยายตัวต่อเนื่อง แต่มีข่าว/ข้อกล่าวหา เรื่องคอรัปชั่น และผลประโยชน์ทับซ้อน ไม่มีความแตกแยก การบริหารเศรษฐกิจผิดพลาดได้รุนแรง แก้ไขได้เร็ว แต่ป้องกันปัญหาคอรัปชั่นและผลประโยชน์ทับ ซ้อนไม่ได้

I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน (ต่อ) 2006 – 2010 -- ความแตกแยกในสังคมรุนแรง - มีนรม. 6 คน 2006 -- เหตุการณ์ 19 ก.ย. 2008 -- เหตุการณ์วิกฤติการเงินโลก 15 ก.ย. ความแตกแยกในสังคมและอำนาจรัฐขาดดุลยภาพ ทำให้การ บริหารเศรษฐกิจสู่ทิศทางใหม่ ซึ่งต้องมีการลงทุนและแก้ไข กฎระเบียบ มีความยากลำบาก (mega projects, eco-friendly projects, ระบบโทรศัพท์ 3-G… ฯลฯ เกิดช้ากว่าที่ควรมาก) 2011 -- วิกฤติการเมืองยังคงอยู่

II. บริหารในภาวะวิกฤติการเมือง โลกเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงชัดเจน อำนาจเศรษฐกิจเอเชียเพิ่ม ประเทศที่มีบทบาทสำคัญเพิ่มจาก G8 เป็น G20 องค์กรกำกับเศรษฐกิจโลกเปลี่ยน โดย G20 มีบทบาท เงิน US$ ลดค่าและความสำคัญในฐานะสกุลเงินหลัก ต้องให้ความสำคัญต่อเอเชีย/แปซิฟิก และต้องลด/เลี่ยงUS$ ประเทศไทยต้องเริ่มปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ภาคการผลิต ภาคการใช้จ่าย ภาครายได้ ลด / เปลี่ยน / ปรับ ภาคอุตสาหกรรม เพิ่ม / พัฒนา ภาคบริการ และภาคเกษตรกรรม เพิ่มสัดส่วนการลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชน เพิ่มสัดส่วนรายได้ที่เป็นค่าจ้างและค่าตอบแทนอาชีพอิสระ

II. บริหารในภาวะวิกฤติการเมือง (ต่อ) สภาวะของภาคเศรษฐกิจไทย การคลัง ขาดดุลงบประมาณ หนี้สาธารณะเพิ่ม การเงิน สภาพคล่องล้น เงินสำรองเกินความพอดี (US$) การค้า คล่องตัวทั้งนำเข้าและส่งออก อุตสาหกรรม มีปัญหาสิ่งแวดล้อมและแรงงาน เกษตร มีปัญหา productivity เป็นส่วนมาก บริการ มีความพร้อมในการปรับตัวสูง Infrastructure ไม่เพียงพอชัดเจน แรงงาน Miss – Match เพิ่มขึ้นเป็นลำดับ

II. บริหารในภาวะวิกฤติการเมือง (ต่อ) การบริหารเศรษฐกิจปี 2011 บริหารสภาพคล่องทางการเงินและเงินสำรองส่วนเกิน มาเพื่อการลงทุนโดยรัฐและเอกชน เพื่อ ลดแรงกดดันเงินบาทขึ้นค่าและดอกเบี้ยลดค่า บรรเทาปัญหาค่า Logistics สูงเกิน เพิ่มโอกาสทางเลือกให้แรงงาน ให้หน่วยงานทางเศรษฐกิจของรัฐและเอกชนมีอำนาจ หน้าที่เพิ่มขึ้นในการบริหารนโยบาย