ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ภายใต้วิกฤติการเมือง ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี บลจ. เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง สัมมนาทิศทางเศรษฐกิจไทยปี 2554 “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยท่ามกลางความขัดแย้ง” โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค 24 พฤศจิกายน 2553
I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน 1971 -- การช่วงชิงอำนาจระหว่างกองทัพ (+ ข้าราชการพลเรือน) - นักการเมือง – ภาค ประชาชน ความไม่สมดุลของอำนาจ (+ ความไม่เป็นธรรมในการใช้ อำนาจ) เกิดวิกฤติการเมืองและความแตกแยก 1973 -- เหตุการณ์ 14 ต.ค. 1973-74 -- นรม.สัญญา ธรรมศักดิ์ – บริหารบนความแตกแยก ปรับนโยบายเศรษฐกิจได้มาก เพราะมีทีมเศรษฐกิจที่ทำงาน กับ นรม.ได้ดี (ยกเลิกพรีเมื่ยมข้าว ขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ พลตรีชาติชาย พบโจ เอน ไล … ฯลฯ)
I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน (ต่อ) 1975 – 1980 -- วิกฤติการเมือง ความแตกแยกรุนแรง - เปลี่ยนนรม. 6 คน 1976 -- เหตุการณ์ 6 ต.ค บริหารเศรษฐกิจได้เพียงปรับทิศทางมาสร้าง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศในเอเชีย (ฟื้นความสัมพันธ์กับจีน 1975, ร่วม ASEAN Summit 1976) 1980 – 1988 -- มีดุลยภาพของกลุ่มอำนาจต่างๆ ปรับนโยบายและโครงสร้างเศรษฐกิจได้อย่างสำคัญ โดยมีภาคอุตสาหกรรมและการส่งออกเป็นตัวนำ (ส่งออก ท่องเที่ยว ลงทุน, ลดค่าเงินบาท 2 ครั้ง ,ESB,…. ฯลฯ)
I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน (ต่อ) 1988 – 1992 -- ช่วงชิงอำนาจระหว่างนักการเมือง กับกองทัพ 1991 (ก.พ.) -- รสช. รัฐบาล นรม. อานันท์ 1992 -- เหตุการณ์ 17 พ.ค. -- กองทัพหยุดกิจกรรมการเมือง -- ความแตกแยกไม่กระจายในวงกว้าง สามารถปรับเปลี่ยนนโยบายเศรษฐกิจได้ต่อเนื่อง เข้าสู่การเปิดเสรีทางการเงินและการค้า (เปิดเสรีอุตสาหกรรมยานยนต์, มี BIBFs และ OBUs, ข้อตกลง AFTA, ยกเลิกโควตาแท็กซี่, ... ฯลฯ)
I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน (ต่อ) 1992 – 2005 -- นักการเมืองคุมอำนาจรัฐ ความแตกแยกใน สังคมไม่ปรากฏให้เห็น - เปิดเสรีทางการเงินและการค้าต่อเนื่อง 1997/98 -- วิกฤติภาคการเงินและเศรษฐกิจ -- กอบกู้เศรษฐกิจได้สำเร็จในปี 1998 - 2000 -- ปรับทิศทางเศรษฐกิจสู่เอเชีย / แปซิฟิกโดย FTAs, RTAs -- Corporate Sector เข้มแข็ง -- เศรษฐกิจขยายตัวต่อเนื่อง แต่มีข่าว/ข้อกล่าวหา เรื่องคอรัปชั่น และผลประโยชน์ทับซ้อน ไม่มีความแตกแยก การบริหารเศรษฐกิจผิดพลาดได้รุนแรง แก้ไขได้เร็ว แต่ป้องกันปัญหาคอรัปชั่นและผลประโยชน์ทับ ซ้อนไม่ได้
I. การเมืองและเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน (ต่อ) 2006 – 2010 -- ความแตกแยกในสังคมรุนแรง - มีนรม. 6 คน 2006 -- เหตุการณ์ 19 ก.ย. 2008 -- เหตุการณ์วิกฤติการเงินโลก 15 ก.ย. ความแตกแยกในสังคมและอำนาจรัฐขาดดุลยภาพ ทำให้การ บริหารเศรษฐกิจสู่ทิศทางใหม่ ซึ่งต้องมีการลงทุนและแก้ไข กฎระเบียบ มีความยากลำบาก (mega projects, eco-friendly projects, ระบบโทรศัพท์ 3-G… ฯลฯ เกิดช้ากว่าที่ควรมาก) 2011 -- วิกฤติการเมืองยังคงอยู่
II. บริหารในภาวะวิกฤติการเมือง โลกเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงชัดเจน อำนาจเศรษฐกิจเอเชียเพิ่ม ประเทศที่มีบทบาทสำคัญเพิ่มจาก G8 เป็น G20 องค์กรกำกับเศรษฐกิจโลกเปลี่ยน โดย G20 มีบทบาท เงิน US$ ลดค่าและความสำคัญในฐานะสกุลเงินหลัก ต้องให้ความสำคัญต่อเอเชีย/แปซิฟิก และต้องลด/เลี่ยงUS$ ประเทศไทยต้องเริ่มปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ภาคการผลิต ภาคการใช้จ่าย ภาครายได้ ลด / เปลี่ยน / ปรับ ภาคอุตสาหกรรม เพิ่ม / พัฒนา ภาคบริการ และภาคเกษตรกรรม เพิ่มสัดส่วนการลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชน เพิ่มสัดส่วนรายได้ที่เป็นค่าจ้างและค่าตอบแทนอาชีพอิสระ
II. บริหารในภาวะวิกฤติการเมือง (ต่อ) สภาวะของภาคเศรษฐกิจไทย การคลัง ขาดดุลงบประมาณ หนี้สาธารณะเพิ่ม การเงิน สภาพคล่องล้น เงินสำรองเกินความพอดี (US$) การค้า คล่องตัวทั้งนำเข้าและส่งออก อุตสาหกรรม มีปัญหาสิ่งแวดล้อมและแรงงาน เกษตร มีปัญหา productivity เป็นส่วนมาก บริการ มีความพร้อมในการปรับตัวสูง Infrastructure ไม่เพียงพอชัดเจน แรงงาน Miss – Match เพิ่มขึ้นเป็นลำดับ
II. บริหารในภาวะวิกฤติการเมือง (ต่อ) การบริหารเศรษฐกิจปี 2011 บริหารสภาพคล่องทางการเงินและเงินสำรองส่วนเกิน มาเพื่อการลงทุนโดยรัฐและเอกชน เพื่อ ลดแรงกดดันเงินบาทขึ้นค่าและดอกเบี้ยลดค่า บรรเทาปัญหาค่า Logistics สูงเกิน เพิ่มโอกาสทางเลือกให้แรงงาน ให้หน่วยงานทางเศรษฐกิจของรัฐและเอกชนมีอำนาจ หน้าที่เพิ่มขึ้นในการบริหารนโยบาย