อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ. ภาณุ คูวุฒยากร จิตแพทย์ รพ. สวนปรุง
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
โรคสมาธิสั้น.
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
Thailand Research Expo
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
Thyroid.
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การจำแนก ประเภทความพิการ.
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
“ หมวกอุ่นเกล้า ผ้าห่มอุ่นกาย”
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
คำถาม Delirium แยกจาก Dementia อย่างไร
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
ส่งเสริมสัญจร.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
ทฤษฎีการพยาบาล กับ การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลจิตเวช
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
Cognitive of Depressive Disorder
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การพัฒนาสติเพื่อสุขภาพ
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช Delirium โรคเพ้อ อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช

Delirium เป็นความผิดปกติที่เกิดจากความเจ็บปวดทางร่างกายชนิดเฉียบพลัน ผู้ป่วยมีความผิดปกติของสติสัมปชัญญะ และการรู้การเข้าใจ ทำให้มีอาการเพ้อ วุ่นวาย ก้าวร้าว และเสีย sensorium อาการจะเกิดสั้นๆ

สาเหตุ ยารักษาโรค โรคต่อมไร้ท่อ พิษจากสารเสพติด การชัก โรคติดเชื้อ บาดเจ็บที่สมอง ความผิดปกติของ metabolism เลือดไปเลี้ยงสมองน้อย โรคต่อมไร้ท่อ การชัก การขาดวิตามีน การได้รับสารพิษ ปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสริมอื่นๆ

ลักษณะทางคลินิก Prodrome Around disturbance Attention deficit Disoriention Sleep-wake disturbance Perceptual disturbance Fluctuating course Memory impairment Disorganized thinking Psychomotor abnormality

การวินิจฉัย มีความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว การเปลี่ยนแปลงด้าน cognitive ความผิดปกติเกิดขึ้นในเวลาสั้นๆ ความผิดปกติเกิดจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาของการเจ็บป่วย

การรักษา รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม บอกกล่าวผู้ป่วยด้วยประโยคสั้นๆ ปลอบใจให้คลายกังวล อธิบายให้ญาติเข้าใจ ป้องกันอุบัติเหตุ

อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช Dementia สมองเสื่อม อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช

Dementia การทำงานด้านสติปัญญาลดลง เนื่องจากเนื้อเยื่อในสมองหรือระบบประสาทเสื่อม สูญเสียแบบค่อยเป็นค่อยไป มีการเสื่อมของ cognitive function โดยเฉพาะความจำ ความคิดและเชาว์ปัญญา โดยที่ผู้ป่วยยังรู้ตัวดี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และพฤติกรรม

Predisposing factors ปัจจัยเหตุที่เกิดจากพยาธิสภาพที่สมองโดยตรง Alzhemer’s disease ปัจจัยเหตุที่เกิดจากความบกพร่องในส่วนอื่นของร่างกายที่มีผลกระทบต่อสมอง การติดเชื้อ ได้รับสารพิษ การบาดเจ็บ

กลไกการเกิดสมองเสื่อมตามสาเหตุ การเสื่อมของ cell ประสาท โรคหลอดเลือดสมอง การติดเชื้อของระบบประสาท การบาดเจ็บที่ศีรษะ การมีก้อนในสมอง กระบวนการเผาผลาญในร่างกายแปรปรวน การเปลี่ยนแปลงภูมิคุ้มกัน ยาและสารพิษ

อาการและอาการแสดง ขาดความคิดริเริ่ม ระยะแรก หลงลืมเหตุการณ์ปัจจุบัน กล่าวโทษผู้อื่นเมื่อผิดพลาด ซึมเศร้า ร่างกายไม่สะอาด บุคลิกภาพเปลี่ยน ระยะแรก หลงลืมเหตุการณ์ปัจจุบัน บกพร่องในการเรียนรู้และจำสิ่งใหม่ ไม่ค่อยมีสมาธิ

อาการและอาการแสดง(ต่อ) ระยะที่สอง บกพร่องในการใช้ภาษา จำวัตถุสิ่งของไม่ได้ เครียดเมื่อต้องตัดสินใจหรือวางแผน บกพร่องการทำกิจวัตร ความจำบกพร่อง ปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาด้านการนอน แนวโน้มจะกลับไปทำพฤติกรรมที่เคยทำในอดีต ปัญหาด้านขับถ่าย ปัญหาด้านโภชนาการ

อาการและอาการแสดง(ต่อ) ระยะที่สาม ผู้ป่วยติดเชื้อง่าย มักจะเสียชีวิตไม่เกิน 1 ปี

ลักษณะทางคลินิก Memory impairment Impairment in executive function Aphasis Apraxia Agosis Executive function Disinhibited behavior Delusion Hallucination

Alzheimer ‘s disease อายุมากขึ้น พันธุกรรม สาเหตุ อายุมากขึ้น พันธุกรรม สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง : ปัญญาอ่อน บาดเจ็บที่สมอง การศึกษาต่ำ โรคหัวใจขาดเลือด

ระยะของอัลไซเมอร์ ระยะสับสนระยะแรก ผู้ป่วยลืมง่าย ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้าลง บุคลิกภาพเปลี่ยน ปฏิเสธอาการที่ตนเองเป็น

ระยะสับสนระยะหลัง ความจำบกพร่อง การตัดสินใจผิดพลาด ความสามารถในการทำงานลดลง เสียการรู้จกเวลา สถานที่ แต่จำบุคคลได้

ระยะสมองเสื่อมระยะแรก ต้องพึ่งคนอื่นมากขึ้น ความจำพร่องมากขึ้น มีปัญหาอารมณ์มาก การมีเหตุผลและการตัดสินใจลดลง เริ่มแยกตัวจากสังคม

ระยะสมองเสื่อมระยะกลาง ความสามารถต่างๆ ลดลง ปัญหาพฤติกรรม ความคิดผิดปกติ หลงผิด ระแวง นอนไม่หลับ หูแว่ว ทำอะไรซ้ำๆ เคลื่อนไหวผิดปกติ

ระยะสมองเสื่อมระยะปลาย ผู้ป่วยช่วยตัวเองไม่ได้มาก รับประทานอาหารน้อยลง ต้องการการดูแลทุกเรื่อง

ยาเพิ่มประสิทธิภาพของ cell สมอง Tacrine : ทำให้อารมณ์ พฤติกรรม สมาธิ ภาวะรู้ตัวดีขึ้น Donepezil: เหมือน Tacrine Rivastigmine: ทำให้ความสามารถในการรู้และเข้าใจ ประสิทธิภาพทั่วไป และคุณภาพชีวิตดีขึ้น

บทบาทญาติผู้ดูแลผู้ป่วย ยอมรับผู้ป่วย และอาการของโรค เข้าใจสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออกเป็นผลจากอาการของโรค ดูแลทุกด้าน สังเกตอาการและสิ่งที่ก่อให้ผู้ป่วยเกิดความไม่พอใจ ให้ความอบอุ่น ดูแลใกล้ชิด ให้กำลังใจ มีส่วนช่วยในการรักษา

อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช Amnesia โรคหลงลืม อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช

โรคสูญเสียความจำ การวินิจฉัย ความจำเสื่อม โดยไม่สามารถเรียนรู้ข้อมูลใหม่ กิจกรรมทางสังคม/การงานบกพร่อง ไม่ได้เกิดช่วง delirium, dementia ความผิดปกติเป็นมาจากความเจ็บป่วยทางกาย

ชนิดของ Amnesia Blackout : ลืมเหตุการณ์หลังดื่มสุราจัด Korsakoff’s Syndrome : สูญเสียความจำจากขาดวิตามีน B1 Head Injury: retrograde amnesia ลืมเหตุการณ์ที่เกิดก่อนบาดเจ็บ

สวัสดีค่ะ