สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

สาเหตุของการติดยาเสพติด
Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
Formulation of herbicides Surfactants
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สีผสมอาหาร Group’s Emblem.
ยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
Evaluation of pesticides interaction Herbicide-herbicide interaction
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ.2552.
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ.
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การเป็นลมและช็อก.
เจ็บแน่นหน้าอก.
ความเสี่ยงอันตรายจาก
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
Globally Harmonized System : GHS
ห่วงลูกหลาน รักในหลวง เด็กไทย ห่างไกลยาเสพติด ร่วมกันต้าน ยาเสพติด.
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4214 (พ. ศ
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
หลักการเลือกซื้ออาหาร
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
เรื่อง ยาสูบ นางสาว ธัญญาลักษณ์ ทนทาน เลขที่ 31
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ มันสำปะหลัง โดย ศักดา ศรีนิเวศน์ E-mail; s_sinives@yahoo.com โทร.01-899-0710

ไทอะมีโทแซม 25 % WG (Thiamethoxam) เป็นสารเคมีกลุ่ม nicotinoid จัดอยู่ในกลุ่มวัตถุอันตรายประเภท 3 ค่า LD50 สูง ที่ทำให้หนูที่กินเข้าไปแล้วตายในปริมาณ 1563 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก. เป็นพิษต่อผึ้ง และสัตว์น้ำ

ค่า LD50 (มิลลิกรัม/กก. ของน้ำหนักหนู) ระดับความรุนแรงจากพิษของสารเคมี ระดับความรุนแรง ค่า LD50 (มิลลิกรัม/กก. ของน้ำหนักหนู) รับสารพิษทางปาก ชนิดผง ชนิดน้ำ ชั้น 1 เอ (1a) 5 มิลลิกรัม หรือน้อยกว่า 20 มิลลิกรัม หรือน้อยกว่า ชั้น 1 บี (1b) 5-50 มิลลิกรัม 20-200 มิลลิกรัม ชั้น 2 (II) 50-500 มิลลิกรัม 200-2000 มิลลิกรัม ชั้น 3 (III) 500-2000 มิลลิกรัม 2000-3000 มิลลิกรัม ชั้น 4 (IV) มากกว่า 2000 มิลลิกรัม มากกว่า 3000 มิลลิกรัม

WG คืออะไร ? แปลเป็นภาษาไทยว่า สารผสมชนิดเม็ด ต้องผสมน้ำก่อนใช้ WG คือ water dispersible granule แปลเป็นภาษาไทยว่า สารผสมชนิดเม็ด ต้องผสมน้ำก่อนใช้

อัตราส่วนการใช้สำหรับแช่ท่อนพันธุ์ 4 กรัม (2 ช้อนตวง) ต่อ น้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์นาน 5 – 10 นาที ผึ่งให้แห้ง แล้วจึงนำไปปลูก

การอ่านฉลากสารเคมี

จะต้องมีเครื่องหมายและข้อความ เป็นภาษาไทย ดังนี้ ฉลากสำหรับผลิตภัณฑ์ที่จำหน่าย จะต้องมีเครื่องหมายและข้อความ เป็นภาษาไทย ดังนี้ 1. ชื่อทางการค้าของผลิตภัณฑ์ (ถ้ามี) 2. ชื่อสามัญตามระบบ ISO (International Organization for Standardization) หรือชื่อสามัญในระบบอื่นๆ หรือ ชื่อสามัญเคมี

3. อัตราส่วนผสมและลักษณะผลิตภัณฑ์ 4. วัตถุประสงค์การใช้ 5. เครื่องหมาย คำเตือน การใช้ การผสมและแสดงความ อันตราย 6. ประโยชน์ วิธีใช้ วิธีเก็บรักษา วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับภาชนะ บรรจุ และการป้องกันอันตรายหรือความเสียหาย 7. คำเตือน 8. อาการเกิดพิษ การแก้พิษเบื้องต้น คำแนะนำให้รีบส่งผู้ป่วย ไปพบแพทย์พร้อมด้วยฉลากหรือภาชนะบรรจุ คำแนะนำ สำหรับแพทย์

9. ชื่อกลุ่มของสารเคมีเพื่อประโยชน์ในการรักษา 10. ชื่อผู้ผลิต สถานที่ประกอบการ สถานที่ตั้งโรงงาน และ ชื่อผู้นำเข้าพร้อมสถานที่ประกอบการ 11. ขนาดบรรจุ 12. เดือน ปี ที่ผลิต หรือหมดอายุการใช้ 13. เลขทะเบียนวัตถุอันตราย ทั้งนี้การระบุชื่อทางเคมีหรือชื่อวิทยาศาสตร์ของสาระสำคัญบนฉลาก จะเป็นภาษาอังกฤษก็ได้

แถบสีแสดงระดับความเป็นพิษ และภาพสัญลักษณ์แสดงคำเตือน ในการผสมและการใช้

แถบสีแดง แทนค่าความเป็นพิษของผลิตภัณฑ์ในชั้น 1 เอ และชั้น 1 บี (พิษร้ายแรงมากและพิษร้ายแรง) แถบสีเหลือง แทนค่าความเป็นพิษของผลิตภัณฑ์ในชั้น 2 (พิษปานกลาง) แถบสีน้ำเงิน แทนค่าความเป็นพิษของผลิตภัณฑ์ในชั้น 3 (พิษน้อย)

ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช

นอนหลับไม่สนิท(1) หนังตากระตุก(2) ตาแดง(1) ตาพร่ามัว(2) แสบตา/ปวดแสบร้อน/ตาคัน(1) น้ำตาไหล(1) แสบจมูก(1) น้ำมูกไหล(1) เวียนศีรษะ(1) น้ำลายไหล(1) อ่อนเพลีย(1) ลมชัก (3) หมดสติ(3) ปวดศีรษะ(1) อาเจียน(2) หายใจติดขัด (1) เจ็บคอ(1) ไอ(1) กล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย(1) เจ็บหน้าอก (แน่นหน้าอก) (2) คลื่นไส้(2) อาการชา(1) กล้ามเนื้อ เป็นตะคริว(2) ปวดเกร็งท้อง(2) ท้องเสีย((2) ผื่นคันที่ผิวหนัง(1) ผื่นแดง ผื่นขาว ผิวแตก ตุ่มพุพอง ผิวแห้ง เหงื่อออก(1) อาการที่สังเกตเห็นหรือ รู้สึกได้ในขณะฉีดพ่นหรือเกิดภายใน 24 ชั่วโมงหลังฉีดพ่นสารเคมี คันผิวหนัง(1) เดินโซเซ (2)

อาการที่สังเกตเห็นได้ สั่น  ผิวหนังแดง หนังตากระตุก  รอยด่างขาวบนผิวหนัง เหงื่อออกมากผิดปกติ  ผิวหนังแตกเป็นเกร็ด ตาแดง  หมดสติ/ไม่รู้สึกตัว น้ำมูกไหลมาก  ชัก ไอ  อาเจียน หายใจเสียงดัง เดินโซเซ ท้องเสีย

อาการที่รู้สึกได้ คอแห้ง  คลื่นไส้ คอแห้ง  คลื่นไส้ อ่อนเพลีย/เหนื่อยง่าย  น้ำลายไหลมาก นอนไม่หลับ  เจ็บคอ แน่นหน้าอก/ปวดเสียดที่ยอดอก  แสบจมูก ชา  กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ปวดแสบตา  ปวดศีรษะ คันตา  ปวดท้องเกร็ง ตาพร่า  คันที่ผิวหนัง เวียนศีรษะ

ภัยเงียบที่ยังไร้คำตอบ

เวรกรรม ?????????

เวรกรรม หรือ ??????????????

เหตุเกิดที่เวียดนาม

เหตุเกิดที่อินเดีย

อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม

ความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต ในดิน

สวัสดี