สรุปการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ทิศทางหลักกรมควบคุมโรค ปี 2553
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คปสอ.เมืองปาน.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554 จังหวัดพะเยา

ข้อมูลทั่วไป จ.พะเยา 9 อำเภอ 68 ตำบล

รับนโยบาย,อบรมครู ก. และอบรมทีม SRRT ตำบล

การดำเนินการอบรมทีม SRRT ตำบล ปี 2554 อำเภอ ตำบลทั้งหมด เป้าหมายปี54 ตำบลที่อบรมปี54 ร้อยละตำบลที่อบรม 1.เมือง 15 2 13 86.67 2.จุน 7 28.57 3.เชียงคำ 10 20.00 4.เชียงม่วน 3 66.67 5.ดอกคำใต้ 12 6 50.00 6.ปง 7.แม่ใจ 33.33 8.ภูซาง 5 100.00 9.ภูกามยาว รวม 68 18 36 52.94

การประเมินตนเอง (Self assessment) ตามคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ครั้งที่ 1 ก.พ.54(ร้อยละ) ครั้งที่ 2 ส.ค.54(ร้อยละ) เมืองพะเยา 87 100 จุน 86 92 ภูกามยาว 84 94 ปง 78 96 แม่ใจ เชียงคำ 72 เชียงม่วน 70 ภูซาง ดอกคำใต้ 68 * ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80

การคัดเลือกตัวแทนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดพะเยา อำเภอ THE BEST คือ อำเภอเมืองพะเยา อำเภอ THE MUST คืออำเภอดอกคำใต้

จุดแข็ง นโยบายชัดเจน มีการถ่ายทอดสื่อสารแก่อำเภอ มีมาตรฐานเกณฑ์ประเมิน งบสนับสนุน

จุดอ่อน กระบวนการดำเนินงานของอำเภอที่ไม่ได้รับการคัดเลือกประกวด การอบรมทีม SRRT ตำบลดำเนินการเฉพาะเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณ แบบประเมินมาตรฐาน 5 องค์ประกอบ อำเภอวิเคราะห์และแยกประเมินเป็นส่วนๆ ไม่เชื่อมโยงกัน ระยะเวลาดำเนินการโครงการสั้น

ลำดับโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา โรคสำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ลำดับที่ โรค ขนาด ความรุนแรง ความยากง่าย ความร่วมมือ คะแนนผลบวก คะแนนผลคูณ 1 การติดเชื้อHIV/โรคเอดส์ 4 3 15 192 2 โรควัณโรค 14 144 โรคหลอดเลือดสมอง 13 108 โรคไข้เลือดออก 11 54

ลำดับโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา โรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ลำดับ โรค ขนาด ความรุนแรง ความยากง่าย ความร่วมมือ คะแนนผลบวก คะแนนผลคูณ 1 ไข้หวัดใหญ่ 3 2 11 54 อุบัติเหตุทางถนน โรคอาหารเป็นพิษ 4 โรคเลปโตสไปโรซิส 48 5 โรคพิษสุนัขบ้า 10 24 6 การควบคุมยาสูบ 9 7 การควบคุมแอลกอฮอล์ 8 โรคหนอนพยาธิ 16 โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 12 โรคจากการประกอบอาชีพ การป้องกันเด็กจมน้ำ โรคเท้าช้าง 13 อหิวาตกโรค 14 มาลาเรีย 15 โรคติดต่อด้วยวัคซีน โรคเรื้อน

5ลำดับแรกของโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา การติดเชื้อHIV/โรคเอดส์ โรควัณโรค โรคหลอดเลือดสมอง โรคไข้เลือดออก โรคอาหารเป็นพิษ

สถานการณ์เอดส์ จ.พะเยา มีผู้ป่วยรายแรกใน จ.พะเยา เมื่อปี 2532 ข้อมูล ณ กันยายน 2553 จ.พะเยา มีรายงานผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ทั้งสิ้น 17,029 ราย ชาย 10,623 ราย หญิง 6,406 ราย เสียชีวิตแล้ว 7,512 ราย อำเภอที่มีจำนวนผู้ป่วยสะสมสูงสุด 3 ลำดับแรก คือ อ.เชียงคำ 3,742 ราย อ.เมือง 3,676 ราย อ.ดอกคำใต้ 2,467 ราย ข้อมูลเฝ้าระวังการติดเชื้อ ปี 2552 - หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อ ร้อยละ 2.66 - ผู้บริจาคโลหิต ติดเชื้อร้อยละ 0.24 - หญิงบริการ ติดเชื้อร้อยละ 9.09

อัตราป่วยต่อแสนของวัณโรค จ.พะเยา ปี 2548-2553 สถานการณ์โรควัณโรค จ.พะเยา อัตราป่วยต่อแสนของวัณโรค จ.พะเยา ปี 2548-2553

สถานการณ์ข้อมูลโรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง อัตราตายเพิ่มจาก 4.72ต่อประชากรแสนคนในปี 2548 เป็น 7.81 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2550 ซึ่งสูงกว่าระดับประเทศประมาณ 2 เท่า โรคหลอดเลือดสมอง อัตราตายเพิ่มจาก 17.23 ต่อประชากรแสนคนในปี 2548 เป็น 19.24 ต่อประชากรแสนคนในปี 2550 โรคเบาหวาน อัตราตายเท่ากับ 12.51 ต่อประชากรแสนคนในปี 2549 เป็น 13.36 ในปี 2550

อัตราตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดพะเยา อัตราตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดพะเยา มีแนวโน้มสูงขึ้นตั้งแต่ปี 2547 และสูงกว่าอัตราตายของประเทศ

อัตราผู้ป่วยในด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพะเยา

ปี 2553 มีผู้ป่วย 1,345 ราย อัตราป่วย 276.32/แสน (เกินเกณฑ์ปกติ 5.5 เท่า) มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย มีผู้ป่วยใน 60 ตำบล จากทั้งหมด 68 ตำบล เป็นร้อยละ 88 ของพื้นที่ อัตราป่วยต่อแสน ไม่มีผู้ป่วย 0.1-25.0 25.1-50.0 50.1-100.0 > 100 ภาพแสดง ตำบลพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำแนกตามอัตราป่วย

วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงการระบาดไข้เลือดออก ปี 2554 รายตำบลโดยใช้เกณฑ์ พื้นที่เกิดโรคซ้ำซาก ย้อนหลัง 5 ปี ( ปี 2548-2552) อัตราป่วยย้อนหลัง 5 ปี ( ปี 2548-2552) การระบาดปี 2553 โอกาสเสี่ยง ปานกลาง สูง สูงมาก ภาพแสดงตำบลในจังหวัดพะเยา ที่มีความเสี่ยงต่อการระบาดไข้เลือดออก ปี 2554

สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 จ.พะเยา มิ.ย.52-ต.ค. 53

สถานการณ์อาหารเป็นพิษจังหวัดพะเยา ที่มา : ศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา

สถานการณ์อาหารเป็นพิษ - ข่าวจากหนังสือพิมพ์

ความต้องการสนับสนุน คน : ทีมสนับสนุนการดำเนินการพัฒนา เงิน : งบประมาณการดำเนินการประชุม อบรม พัฒนาทีม SRRT ตำบล กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของ : สื่อสุขศึกษา คู่มือการดำเนินการ วัสดุ-อุปกรณ์ในการเตรียมความพร้อมรับโรคและภัยสุขภาพ ลักษณะของกล่องชุดอุปกรณ์ฯ