สรุปการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554 จังหวัดพะเยา
ข้อมูลทั่วไป จ.พะเยา 9 อำเภอ 68 ตำบล
รับนโยบาย,อบรมครู ก. และอบรมทีม SRRT ตำบล
การดำเนินการอบรมทีม SRRT ตำบล ปี 2554 อำเภอ ตำบลทั้งหมด เป้าหมายปี54 ตำบลที่อบรมปี54 ร้อยละตำบลที่อบรม 1.เมือง 15 2 13 86.67 2.จุน 7 28.57 3.เชียงคำ 10 20.00 4.เชียงม่วน 3 66.67 5.ดอกคำใต้ 12 6 50.00 6.ปง 7.แม่ใจ 33.33 8.ภูซาง 5 100.00 9.ภูกามยาว รวม 68 18 36 52.94
การประเมินตนเอง (Self assessment) ตามคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ครั้งที่ 1 ก.พ.54(ร้อยละ) ครั้งที่ 2 ส.ค.54(ร้อยละ) เมืองพะเยา 87 100 จุน 86 92 ภูกามยาว 84 94 ปง 78 96 แม่ใจ เชียงคำ 72 เชียงม่วน 70 ภูซาง ดอกคำใต้ 68 * ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80
การคัดเลือกตัวแทนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดพะเยา อำเภอ THE BEST คือ อำเภอเมืองพะเยา อำเภอ THE MUST คืออำเภอดอกคำใต้
จุดแข็ง นโยบายชัดเจน มีการถ่ายทอดสื่อสารแก่อำเภอ มีมาตรฐานเกณฑ์ประเมิน งบสนับสนุน
จุดอ่อน กระบวนการดำเนินงานของอำเภอที่ไม่ได้รับการคัดเลือกประกวด การอบรมทีม SRRT ตำบลดำเนินการเฉพาะเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณ แบบประเมินมาตรฐาน 5 องค์ประกอบ อำเภอวิเคราะห์และแยกประเมินเป็นส่วนๆ ไม่เชื่อมโยงกัน ระยะเวลาดำเนินการโครงการสั้น
ลำดับโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา โรคสำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ลำดับที่ โรค ขนาด ความรุนแรง ความยากง่าย ความร่วมมือ คะแนนผลบวก คะแนนผลคูณ 1 การติดเชื้อHIV/โรคเอดส์ 4 3 15 192 2 โรควัณโรค 14 144 โรคหลอดเลือดสมอง 13 108 โรคไข้เลือดออก 11 54
ลำดับโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา โรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ลำดับ โรค ขนาด ความรุนแรง ความยากง่าย ความร่วมมือ คะแนนผลบวก คะแนนผลคูณ 1 ไข้หวัดใหญ่ 3 2 11 54 อุบัติเหตุทางถนน โรคอาหารเป็นพิษ 4 โรคเลปโตสไปโรซิส 48 5 โรคพิษสุนัขบ้า 10 24 6 การควบคุมยาสูบ 9 7 การควบคุมแอลกอฮอล์ 8 โรคหนอนพยาธิ 16 โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 12 โรคจากการประกอบอาชีพ การป้องกันเด็กจมน้ำ โรคเท้าช้าง 13 อหิวาตกโรค 14 มาลาเรีย 15 โรคติดต่อด้วยวัคซีน โรคเรื้อน
5ลำดับแรกของโรคและภัยสุขภาพ จ.พะเยา การติดเชื้อHIV/โรคเอดส์ โรควัณโรค โรคหลอดเลือดสมอง โรคไข้เลือดออก โรคอาหารเป็นพิษ
สถานการณ์เอดส์ จ.พะเยา มีผู้ป่วยรายแรกใน จ.พะเยา เมื่อปี 2532 ข้อมูล ณ กันยายน 2553 จ.พะเยา มีรายงานผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ทั้งสิ้น 17,029 ราย ชาย 10,623 ราย หญิง 6,406 ราย เสียชีวิตแล้ว 7,512 ราย อำเภอที่มีจำนวนผู้ป่วยสะสมสูงสุด 3 ลำดับแรก คือ อ.เชียงคำ 3,742 ราย อ.เมือง 3,676 ราย อ.ดอกคำใต้ 2,467 ราย ข้อมูลเฝ้าระวังการติดเชื้อ ปี 2552 - หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อ ร้อยละ 2.66 - ผู้บริจาคโลหิต ติดเชื้อร้อยละ 0.24 - หญิงบริการ ติดเชื้อร้อยละ 9.09
อัตราป่วยต่อแสนของวัณโรค จ.พะเยา ปี 2548-2553 สถานการณ์โรควัณโรค จ.พะเยา อัตราป่วยต่อแสนของวัณโรค จ.พะเยา ปี 2548-2553
สถานการณ์ข้อมูลโรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง อัตราตายเพิ่มจาก 4.72ต่อประชากรแสนคนในปี 2548 เป็น 7.81 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2550 ซึ่งสูงกว่าระดับประเทศประมาณ 2 เท่า โรคหลอดเลือดสมอง อัตราตายเพิ่มจาก 17.23 ต่อประชากรแสนคนในปี 2548 เป็น 19.24 ต่อประชากรแสนคนในปี 2550 โรคเบาหวาน อัตราตายเท่ากับ 12.51 ต่อประชากรแสนคนในปี 2549 เป็น 13.36 ในปี 2550
อัตราตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดพะเยา อัตราตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดพะเยา มีแนวโน้มสูงขึ้นตั้งแต่ปี 2547 และสูงกว่าอัตราตายของประเทศ
อัตราผู้ป่วยในด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพะเยา
ปี 2553 มีผู้ป่วย 1,345 ราย อัตราป่วย 276.32/แสน (เกินเกณฑ์ปกติ 5.5 เท่า) มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย มีผู้ป่วยใน 60 ตำบล จากทั้งหมด 68 ตำบล เป็นร้อยละ 88 ของพื้นที่ อัตราป่วยต่อแสน ไม่มีผู้ป่วย 0.1-25.0 25.1-50.0 50.1-100.0 > 100 ภาพแสดง ตำบลพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำแนกตามอัตราป่วย
วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงการระบาดไข้เลือดออก ปี 2554 รายตำบลโดยใช้เกณฑ์ พื้นที่เกิดโรคซ้ำซาก ย้อนหลัง 5 ปี ( ปี 2548-2552) อัตราป่วยย้อนหลัง 5 ปี ( ปี 2548-2552) การระบาดปี 2553 โอกาสเสี่ยง ปานกลาง สูง สูงมาก ภาพแสดงตำบลในจังหวัดพะเยา ที่มีความเสี่ยงต่อการระบาดไข้เลือดออก ปี 2554
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 จ.พะเยา มิ.ย.52-ต.ค. 53
สถานการณ์อาหารเป็นพิษจังหวัดพะเยา ที่มา : ศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา
สถานการณ์อาหารเป็นพิษ - ข่าวจากหนังสือพิมพ์
ความต้องการสนับสนุน คน : ทีมสนับสนุนการดำเนินการพัฒนา เงิน : งบประมาณการดำเนินการประชุม อบรม พัฒนาทีม SRRT ตำบล กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของ : สื่อสุขศึกษา คู่มือการดำเนินการ วัสดุ-อุปกรณ์ในการเตรียมความพร้อมรับโรคและภัยสุขภาพ ลักษณะของกล่องชุดอุปกรณ์ฯ