สารต้านอนุมูลอิสระในอาหารไทย จัดทำโดย นางสาวอาภัสรา สระทองอ่อน 54070331 สาขาการจัดการสุขภาพชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์
อนุมูลอิสระเกิดขึ้นได้อย่างไร? นอกจากเกิดจากกระบวนการเผาผลาญสารอาหารในร่างกายแล้ว ยังอาจเกิดจากการติดเชื้อทั้ง จากแบคทีเรียและไวรัส การอักเสบชนิดไม่ทราบสาเหตุ เช่น ข้ออักเสบรูมาตอยด์ , จากรังสี, สิ่งแวดล้อมที่เป็นมลพิษ เช่น ควันเสียและเขม่าจากเครื่องยนต์, ควันบุหรี่, ยาฆ่าแมลง, การ ออกกำลังกายอย่างหักโหม
⇒ แหล่งที่มาของอนุมูลอิสระสามารถแบ่งได้อย่างง่ายๆ 1. อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นเองภายในร่างกาย ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ซึ่งเป็นผลมาจากกระบวนการ เผาผลาญของ ร่างกาย การออกกำลังกายอย่างหักโหม ความเครียด
⇒ แหล่งที่มาของอนุมูลอิสระสามารถแบ่งได้อย่างง่ายๆ 2. อนุมูลอิสระจากภายนอกร่างกาย เช่น (1) การติด เชื้อทั้งแบคทีเรียและไวรัส (2) การอักเสบชนิดไม่ทราบสาเหตุของกลุ่มโรคภูมิต้านทานตัวเอง (autoimmune diseases) เช่น โรคข้ออักเสบ รูมาตอยด์ โรคเอสแอล อี รังสีอัลตราไวโอเลต จากแสงแดดกระตุ้นให้เกิดอนุมูลอิสระบริเวณผิวหนัง
อนุมูลอิสระทำให้เกิดอะไรกับร่างกายบ้าง? เมื่ออนุมูลอิสระทำปฏิกิริยากับรหัสพันธุรกรรมดีเอ็นเอในนิวเคลียสของเซลล์ อาจทำให้เซลล์ กลายพันธ์และกลายเป็นเซลล์มะเร็ง ถ้าเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นกับโคเลสเตอรอลในกระแส เลือด จะกระตุ้นให้เกิดไขมันสะสมในหลอดเลือด นำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือด ทำให้หลอด เลือดในสมองแตกหรือตีบได้ นอกจากนี้ อนุมูลอิสระยังมีส่วนทำให้เกิดต้อกระจก ภูมิต้านทาน ต่ำ โรคข้ออักเสบและแก่ก่อนวัย
สารต้านอนุมูลอิสระคืออะไร สารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) คือ สารประกอบที่สามารถป้องกันหรือชะลอ กระบวนการเกิดออกซิเดชั่น กระบวนการออกซิเดชั่นมีได้หลายรูปแบบ เช่น กระบวนการออกซิเดชั่น ที่ทำให้เหล็กกลายเป็นสนิม ทำให้แอปเปิ้ลเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลหรือทำให้น้ำมันพืชเหม็นหืน หรือ กระบวนการออกซิเดชั่นที่เกิดในร่างกาย เช่น การย่อยสลายโปรตีนและไขมันจากอาหารที่กินเข้าไป มลพิษทางอากาศ การหายใจ ควันบุหรี่ รังสียูวี ล้วยทำให้เกิดอนุมูลอิสระขึ้นในร่างกายของเราซึ่ง สร้างความเสียหายต่อร่างกายได้ ในความเป็นจริงไม่มีสารประกอบสารใดสารหนึ่งสามารถป้องกัน การเกิดออกซิเดชั่นได้ทั้งหมด แต่ละกลไกอาจต้องใช้สารต้านอนุมูลอิสระที่แตกต่างกันในการหยุด กระบวนการออกซิเดชั่น
บทบาทของสารต้านอนุมูลอิสระ สารต้านอนุมูลอิสระสามารถลดความเสี่ยงต่อโรคโดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับอาหาร รวมทั้งช่วยชะลอกระบวนการบางขั้นตอนที่ทำให้เกิดความแก่ โดยปกติร่างกายสามารถกำจัด อนุมูลอิสระก่อนที่มันจะทำอันตราย แต่ถ้ามีการสร้างอนุมูลอิสระเร็ว หรือมากเกินกว่าร่างกาย จะกำจัดทันอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้น จะสร้างความเสียหายต่อเซลล์และเนื้อเยื่อได้ ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพ
ประโยชน์ของสารต้านอนุมูลอิสระ? ต้านอนุมูลอิสระเป็นสารอาหารจากธรรมชาติพบในผลไม้และผักบาง พวก เขาได้รับการพิสูจน์เพื่อปกป้องเซลล์มนุษย์จากความเสียหายและให้ oxidative : แรงต้านทานภูมิคุ้มกันเพื่อ flus ไวรัสและติดเชื้อ ลดลงอย่างมากของการเกิดมะเร็งทั้งหมด การป้องกันต้อหินและ macular เสื่อม ลดความเสี่ยงของคอเลสเตอรอลออกซิเดชันและโรคหัวใจ Anti - aging ของเซลล์และร่างกายโดยรวม
แหล่งอาหารที่สำคัญของสารต้านอนุมูลอิสระ วิตามินซี - ฝรั่ง ส้ม มะขามป้อม มะละกอสุก พริกชี้ฟ้าเขียว บร็อกโคลี ผักคะน้า ยอดสะเดา ใบปอ ผักหวาน ผักกาดเขียว
วิตามินอี - น้ำมันจากจมูกข้าวสาลี น้ำมันดอกทานตะวัน น้ำมันข้าวโพด น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันดอกคำฝอย เมล็ดทานตะวัน เมล็ดอัลมอนด์ จมูกข้าวสาลี ซีลีเนียม - อาหารทะเล ปลาทูน่า เนื้อสัตว์และตับ บะหมี่ ไก่ ปลา ขนมปังโฮลวีต
วิตามินเอ - ตับหมู ตับไก่ ไข่โดยเฉพาะไข่แดง วิตามินเอ - ตับหมู ตับไก่ ไข่โดยเฉพาะไข่แดง* น้ำนม พืชผักที่มีสีเขียวเข้ม ผลไม้ที่มีมสีเหลืองส้ม เช่น ผักตำลึง ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง ฟักทอง มะม่วงสุก มะละกอสุก มะเขือเทศ แคโรทีนอยด์ (บีตาแคโรทีน ลูทีน และไลโคฟีน) - ผักที่มีสีเขียวเข้ม ผลไม้ที่มีสีเหลืองส้ม เช่น ผักตำลึง ผักกว้างตุ้ง ผักบุ้ง ฟักทอง มะม่วงสุก มะละกอสุก มะเขือเทศ
จบการนำเสนอ