การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เมื่อกินอาหารเป็นยา จะไม่ต้องกินยาเป็นอาหาร
Advertisements

ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
โภชนาการในคลินิก DPAC ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
ขนมเทียน โดย นางเทวี โพธิ์ไพจิตร ครูชำนาญการพิเศษ.
ขนมอบ จัดทำโดย เสนอ อ. มานะ ผิวผ่อง
สังขยาฝักทอง * ฟักทอง 1 ลูก (น้ำหนักประมาณ กรัม) * ไข่ 4 ฟอง
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
อาหารหลัก 5 หมู่.
การเตรียมความพร้อมนักกำหนดอาหารไทยสู่ประชาคมอาเซียน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
การถนอมอาหาร.
Menu 7 - days miracle เมนู 7 วันอัศจรรย์.
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
เมนูชูสุขภาพ วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
อาหารหลัก 5 หมู่.
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
ยุทธการสลายไขมันใน 10 วัน (10 Days Fat Burning Diet)
ไขมันอิ่มตัว....ไม่อิ่มตัว
การลดน้ำหนัก สูตรสมเด็จพระเทพ
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
หัวจดเท้ารักษาเองได้ ก่อนไปหาหมอ
การลดภาษีของออสเตรเลีย
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
ภาวะไตวาย.
โรงเรียนจ่านกร้อง จ.พิษณุโลก
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
กินพอดีไม่มีพุง แม้งานจะยุ่งก็ทำได้
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
กินเท่าไหร่ ถึงจะพอดี
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
เด็กชายสุภาณัต ทองแท้ เลขที่ 16 เด็กหญิงพฤษกรณ์ สิงมี เลขที่ 33 เด็กหญิงอรปรีญา หอมอุบล เลขที่ ๔๐ เสนอ อาจารย์ จริญญา ม่วงจีน.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคหัวใจ.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ส่วนผสมหน้าเค้ก นมเย็น
Diet for Over Weight นพ.เทอดศักดิ์ เดชคง
หลักการเลือกซื้ออาหาร
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก

ข้าว แป้ง โซนสีเขียว อาหารเลือกกินให้มาก ข้าวกล้อง,ข้าวโอ๊ต ขนมปังหยาบ,ข้าวโพดต้ม โซนสีเหลือง เลือกกินแต่พอควร ข้าวเหนียว,ขนมจีน,ข้าวเจ้า,ขนมปังหวาน มัน เผือก วุ้นเส้น เส้นก๋วยเตี๋ยว โซนสีแดง เลือกกินให้น้อยที่สุด หมี่กรอบ,ข้าวมันไก่,คุกกี้,เค้ก,พาย ท๊อฟฟี่,ขนมหวานต่างๆ

ผัก โซนสีเขียว อาหารเลือกกินให้มาก ผักสด ผักนึ่ง ผักลวก ผักใบเขียว ผักตระกูลกะหล่ำ โซนสีเหลือง เลือกกินแต่พอควร ผักกระป๋องชนิดจืด สะตอ ฟักทอง แครอท โซนสีแดง เลือกกินให้น้อยที่สุด ผัดผัก ผักราดซอสครีม ผักกระป๋องชนิดเค็ม

ผลไม้ โซนสีเขียว อาหารเลือกกินให้มาก ส้ม ชมพู่ ฝรั่ง แคนตาลูป มะละกอ แตงโม สาลี่ แอบเปิ้ล โซนสีเหลือง เลือกกินแต่พอควร มะม่วงสุก กล้วย ขนุน น้อยหน่า ละมุด ลำไย ลิ้นจี่ สับปะรด องุ่น โซนสีแดง เลือกกินให้น้อยที่สุด ทุเรียน ลำไยแห้ง ผลไม้ตากแห้ง อะโวคาโด มะขามหวาน

เนื้อสัตว์ โซนสีเขียว อาหารเลือกกินให้มาก เนื้อปลา ไข่ขาว กุ้ง ปู เนื้อไก่ เต้าหู้ขาว ถั่วแดง ถั่วปากอ้า โซนสีเหลือง เลือกกินแต่พอควร เนื้อหมูแดงเลาะมันออก ไข่ทั้งฟอง ไก่น่อง ปลากระป๋องในน้ำมัน โซนสีแดง เลือกกินให้น้อยที่สุด เนื้อติดมัน เครื่องในสัตว์ ไข่เจียว ไก่ทอด ปลาทอด แคบหมู หมูกรอบ ไส้กรอก

นม โซนสีเขียว อาหารเลือกกินให้มาก นมปราศจากไขมัน นมรสจืดทุกประเภท นมถั่วเหลืองรสจืด โซนสีเหลือง เลือกกินแต่พอควร นมไขมันต่ำ นมเปรี้ยวไขมันต่ำ โยเกิร์ตไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย โซนสีแดง เลือกกินให้น้อยที่สุด นมสด นมเปรี้ยว ครีม นมข้นหวาน ไอศกรีม ช็อคโกแลต

ไขมันที่เติมในอาหาร โซนสีเขียว อาหารเลือกกินให้มาก น้ำสลัดชนิดไม่มีน้ำมัน มายองเนสไร้ไขมัน โซนสีเหลือง เลือกกินแต่พอควร น้ำสลัดไขมันต่ำ มายองเนสไขมันต่ำ น้ำมันพืช เมล็ดทานตะวัน ถั่วลิสง โซนสีแดง เลือกกินให้น้อยที่สุด มาการีนแข็ง เนย เบคอน น้ำมันหมู

เครื่องดื่ม โซนสีเขียว อาหารเลือกกินให้มาก น้ำเปล่า น้ำชาหรือน้ำสมุนไพรที่ไม่เติมน้ำตาล โซนสีเหลือง เลือกกินแต่พอควร กาแฟร้อน น้ำตาลและครีมเล็กน้อย โซนสีแดง เลือกกินให้น้อยที่สุด เหล้า เบียร์ ไวน์ น้ำอัดลม น้ำหวาน โอเลี้ยง ชาดำเย็น เครื่องดื่มรสผลไม้

อาหารสำเร็จรูป โซนสีเขียว อาหารเลือกกินให้มาก ประเภทต้ม นึ่ง ยำ ลวก ประเภทต้ม นึ่ง ยำ ลวก อบ ตุ๋น โซนสีเหลือง เลือกกินแต่พอควร ประเภท ปิ้ง ย่างตัดส่วนที่ไหม้ทิ้งไป โซนสีแดง เลือกกินให้น้อยที่สุด ประเภทผัด ทอด ใช้กะทิ

20วิธีควบคุมน้ำหนัก 1. บริโภคข้าวหรือแป้งได้ตามปกติ ถ้าไม่ทำให้น้ำหนักเพิ่ม 2. บริโภคน้ำตาล รวมทั้งน้ำผึ้งและน้ำตาลในอาหาร ไม่เกิน 2 ช้อนชาต่อมื้อ หรือไม่เกิน24 กรัมต่อวัน  3. บริโภคผลไม้อย่างสม่ำเสมอแต่ไม่เกิน 10-15 คำต่อมื้อ แล้วแต่หวานมากหรือหวานน้อย  4. บริโภคเนื้อสัตว์ไม่ติดมันที่สุกแล้ว วันละประมาณ 12-16 ช้อนโต๊ะ และหลีกเลี่ยงเครื่องในสัตว์ หนังสัตว์มันสัตว์  5. บริโภคใบผักและก้านผักอย่างสม่ำเสมอ วันละไม่ต่ำกว่า 3 ทัพพี หรือ 9 ช้อนโต๊ะ **ของผักต้มหรือเทียบเท่า  6. เลือกอาหารที่เตรียมโดยการต้ม นึ่ง ย่าง โดยหลีกเลี่ยงอาหารทอดหรือผัด  7. แนะนำให้บริโภคน้ำมันจากรำข้าว ถั่วเหลือง เมล็ดทานตะวัน งา  8. หลีกเลี่ยงไขมันอิ่มตัวและไขมันแปรรูป เช่น ไขมันจากสัตว์ น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม มาการีน ครีมเทียม

9. บริโภคปลา ไข่ขาว เต้าหู้และผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองทุกวัน 10. ควรดื่มนมพร่องหรือขาดนมเนย รสจืด วันละ 1-2 แก้ว หากดื่มนมไม่ได้ ใช้นมถั่วเหลืองรสจืดแทน 11. ลดการบริโภคเกลือ อาหารหมักดอง อาหารเค็ม และหลีกเลี่ยงการเติมเครื่องปรุงรสในอาหาร 12. ไม่ควรดื่มเหล้า เบียร์ ไวน์ ยาดองเหล้า  

13. ไม่ควรบริโภคชา กาแฟ เกิน 3 ถ้วยต่อวัน  14. ลดข้าวหรือแป้งลงจากเดิม 1 ใน 3 ส่วน  15. งดการบริโภคน้ำหวาน น้ำอัดลม น้ำผลไม้ เครื่องดื่มบำรุงกำลัง เหล้า เบียร์ ไวน์ และงดการเติมน้ำตาล เกลือ เครื่องปรุงรส ในอาหารโดยเด็ดขาดแต่สามารถใช้น้ำตาลเทียม 16. ลดการบริโภคผลไม้ลง โดยบริโภคไม่เกิน 6-10 คำต่อมื้อ แล้วแต่หวานมากหรือน้อย

17. ให้บริโภคใบผักหรือก้านผักเพิ่มขึ้น 18. งดอาหารที่เตรียมโดยการทอดหรือผัด 19. งดอาหารระหว่างมื้อ   20. หากออกกำลังกายไม่ควรบริโภคอาหารเพิ่มจากเดิม

  ก่อนกิน !!! เราควรเลือกอาหารเพื่อลดน้ำหนักโดยปรับเปลี่ยนการบริโภคตามโซนสี  สีเขียว คือ อาหารเลือกกินให้มาก  โซนสีเหลือง คือ เลือกกินแต่พอควร โซนสีแดง คือ เลือกกินให้น้อยที่สุด  

สวัสดี