กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต UMAPORN.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
สมบัติของสารและการจำแนก
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
(Structure of the Earth)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การศึกษาชีววิทยา.
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Emulsifying Agent.
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
ความหมายและชนิดของคลื่น
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ระบบเครื่องปรับอากาศ
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สารประกอบ.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
การจำแนกประเภทของสาร
ซ่อมเสียง.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
การหักเหของแสง (Refraction)
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การเจริญเติบโตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
กลยุทธ์กระบวนการและการวางแผนกำลังการผลิต
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.

1.การแพร่ของสาร 1.1 หลักการแพร่ของสาร การแพร่ของสาร (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่หรือการกระจายของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นมาก ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อย สารที่แพร่ได้อาจอยู่ในสภาวะก๊าซหรือของเหลว โดยโมเลกุลกระจายออกไปทุกทิศทุกทาง จนทำให้ทุกบริเวณมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน

1.2 ปัจจัยที่ควบคุมการแพร่ของสาร 1.2.1 ความเข้มข้นของสาร ถ้าความเข้มข้นของสารที่แพร่กับความเข้มข้นของตัวกลางมีความแตกต่างกันมาก การแพร่จะเกิดเร็วขึ้น 1.2.2. อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูง การแพร่ของสารจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว 1.2.3. ขนาดอนุภาคสาร สารที่มีขนาดอนุภาคเล็กและเบา จะแพร่ได้รวดเร็วกว่า 1.2.4. ความสามารถในการละลายของสาร ถ้าสารที่แพร่สามารถละลายได้ดีจะมีการแพร่สูง

1.2 ปัจจัยที่ควบคุมการแพร่ของสาร 1.2.5 ความหนาแน่นของตัวกลาง สารที่มีลักษณะเหมือนกัน แต่แพร่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน อัตราการแพร่ไม่เท่ากัน เช่น การแพร่ในอากาศจะมีอัตราการแพร่สูงกว่าในน้ำ เพราะน้ำมีความหนาแน่นสูงกว่าอากาศ คำถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ คือข้อใด

2.ออสโมซิส 2.1 หลักการของออสโทซิส ออสโมซิส (osmopsis) หมายถึงการแพร่ของโมเลกุลของน้ำจากบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อย ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นมาก โดยผ่านเยื่อกั้นบาง ๆ ทำหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน เยื่อเลือกผ่านคือ เยื่อบาง ๆ ที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านได้ แต่สารบางอย่างผ่านไม่ได้

สรุป การแพร่ ออสโมซิส 1.ไม่มีเยื่อกั้น 2.เป็นการกระจายของสาร ทั้งก๊าซ และของเหลว 1.มีเยื่อกั้น มีสมบัติยอมให้สารที่มีขนาดอนุภาคเล็ก ๆ ผ่านเข้าออกได้ 2.เป็นการกระจายของน้ำ