การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การป้องกันควบคุมอหิวาตกโรค ระดับจังหวัด ของ
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
การระบาดของอหิวาตกโรคจังหวัดตาก
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จังหวัดนครปฐม.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น ก.ย. 2550
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค) วงษ์กลาง กุดวงษา และคณะ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเชียงยืน

ความเป็นมา 8 มิถุนายน 2553 ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอเชียงยืน ได้รับแจ้งจากงานระบาดวิทยา สสจ.มหาสารคาม พบผู้ป่วยยืนยันอหิวาตกโรค (Vibrio Cholerae El Tor Ogawa) ตำบลเสือเฒ่า 2 ราย เริ่มป่วย 6 มิถุนายน 2553 รักษาที่โรงพยาบาลเชียงยืน 7 มิถุนายน 2553 10 มิถุนายน 2553 โรคได้กระจายไปทุกตำบลของอำเภอ 1 กรกฎาคม 2553 พบผู้ป่วย 2 รายสุดท้าย

ลักษณะการกระจายของโรค ลักษณะการกระจายของโรค ผู้ป่วยทั้งสิ้น 95 ราย (active cases 15 , carrier 45) อัตราป่วย 154.58 ต่อประชากรแสนคน เป็นเพศหญิง 55 ราย (ร้อยละ 57.9 ) อายุระหว่าง 2 – 82 ปี มัธยฐานอายุ 46 ปี

27 วัน โรคสงบ จำนวน(ราย) ออกสอบสวนโรค ผู้ป่วยรายแรก ปิดและปรับปรุงห้องสุขา ระยะเฝ้าระวังโรค เดือน รูปที่ 1 จำนวนผู้ป่วยโรคอหิวาตกโรค ตามวันเริ่มป่วย อำเภอเชียงยืน วันที่ 4 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2553

เกิดโรคทั้งสิ้น 38 หมู่บ้านใน116 หมู่บ้านครอบคลุมทั้ง 8 ตำบล

การศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ (Case-Case comparison) เมื่อหาความสัมพันธ์ของการรับประทานอาหารจากตลาดเช้ากับการเกิดโรค แบบแหล่งโรคร่วมในระยะแรกของการระบาดพบว่า มีค่า Odds ratio 2.84 (95 % CI 0.99-8.21) แสดงให้เห็นว่า การรับประทานอาหารที่ซื้อมาจากตลาดเช้า น่าจะเป็นสาเหตุของการระบาด ในครั้งนี้ ตารางที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงกับช่วงเวลาของการระบาด ปัจจัยเสี่ยง ผู้ที่ป่วย 4-13 มิ.ย.53 ผู้ที่ป่วย 14 มิ.ย-1 ก.ค.2553 OR 95 % CI รับประทาน ไม่รับประทาน ไม่ อาหารจากตลาดเช้า 53 14 16 12 2.84 0.99-8.21

การสำรวจสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม สุ่มเก็บอาหารจากตลาดส่งตรวจ 17 รายการไม่พบเชื้อ ประปาผิวดินเทศบาลเชียงยืน คลอรีนตกค้าง มีค่า 0.1 ppm เก็บน้ำตรวจไม่พบเชื้อ ขาดการล้างตลาดสดมาประมาณ 1 เดือน ห้องสุขาตลาดสดเช้ามีบ่อเกรอะแตก

มาตรการควบคุมและป้องกันโรค

ด้านการบริหารจัดการทีม ประชุม War Room ระดับอำเภอในช่วงบ่ายของทุกวัน จัดประชุมหัวหน้าส่วนราชการ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม สำนักงานควบคุมป้องกัน โรคที่ 6 ขอแก่น จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสอบสวน แนวทางเฝ้า ระวังควบคุมโรค แนวทางการรักษา และแนวทางติดตามผู้ป่วยและพาหะ

ด้านการควบคุมป้องกันโรค ประสานปศุสัตว์อำเภอเพื่อตรวจสุขภาพคนงานในโรงงานฆ่าสัตว์และการเก็บ RSC พาหะนักเรียนแนะนำให้หยุดเรียนและผู้ขายอาหารทุกรายให้หยุดขายอาหารจนกว่าผลตรวจจะไม่พบเชื้อติดต่อกัน 3 วัน ติดตามการกินยาผู้ป่วยและพาหะทุกรายจนผลการตรวจไม่พบเชื้อ Vibrio cholerae ล้างห้องน้ำโดยคลอรีน100 ppm ที่บ้านผู้ป่วย พาหะ และหมู่บ้านเกิดโรค โดยให้ อสม.ดำเนินการล้างทุกหลังคาเรือน แยกหอผู้ป่วยอหิวาตกโรคกับผู้ป่วยทั่วไปและมีเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ

การให้สุขศึกษาเชิงรุกหลากหลายรูปแบบ แจ้งสถานการณ์การระบาดผ่านทางคลื่นวิทยุในท้องถิ่น รถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ วิ่งและจอดในแหล่งชุมชน ตลาดเช้า,เย็น ผลิตแผ่นพับเกี่ยวกับการป้องกันโรคอหิวาตกโรคและป้ายไวนิลขนาดใหญ่ อสม. แจ้งข่าว ให้คำแนะนำการป้องกันโรคในพื้นที่ เคาะประตูบ้าน หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้สุขศึกษาแก่ผู้ เข้ารับบริการในสถานพยาบาล

การดำเนินงานด้านสุขาภิบาล ประสานงานประปาอำเภอในการเติมคลอรีนน้ำประปาให้มีปริมาณ คลอรีนตกค้าง1 ppm ตรวจเช็คระดับคลอรีนตกค้างสม่ำเสมอ มีมาตรการเติมคลอรีนในบ่อน้ำหรือภาชนะบรรจุน้ำในชุมชนที่มีผู้ป่วยและ พื้นที่ที่เสี่ยง ประสานเทศบาลในการล้างตลาดสด 2 แห่งทุกวันช่วงที่มีการระบาดและ สัปดาห์ละ 2 วันในช่วงเฝ้าระวัง ปิดห้องสุขาและมีการปรับปรุงห้องสุขาของตลาดสดใหม่ ประสานเทศบาลและอบต. ให้มีการจัดเก็บขยะในตลาดเพิ่มขึ้นทั้ง เช้าและเย็น

ความร่วมมือกับหน่วยงานนอกกระทรวงสาธารณสุข (การสร้างเครือข่าย) อบต เทศบาล ตลาด สถานศึกษา ผู้นำชุมชน อสม ร้านค้า ประปาอำเภอ ปศุสัตว์อำเภอ วิทยุชุมชน ประสานความร่วมมือด้วยวาจาและตามด้วยหนังสือราชการอย่าง เป็นทางการ โดยลงนามจากนายอำเภอเชียงยืน เชิญผู้บริหารเข้ารับฟังการประชุม War Room ในระดับอำเภอเพื่อ ติดตามการดำเนินงาน

การพัฒนาระบบเพิ่มเติม

การลงนาม MOU

ปีงบฯ 2555 โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการโรคระดับหมู่บ้านให้เกิดการพัฒนาทีม SRRT ระดับตำบล

การแบ่งบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมให้เจ้าหน้าที่ การให้ความสำคัญของผู้บริหารทุกระดับมีผลต่อการควบคุมป้องกันโรคที่ต้นเหตุได้เป็นอย่างดี

ขอบคุณครับ