กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ที่ระบาดใน ประเทศเม็กซิโก A/California/04/2009
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการแห่งชาติ
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
อย่างปลอดภัยตามหลัก Biosafety และ Biosecurity
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 อุบลราชธานี
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
การตรวจวินิจฉัยโรคไข้ชิคุนกุนยา ทางห้องปฏิบัติการ
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การสำรวจข้อมูลตามโครงการเฝ้าระวัง ภาวะขาดไอโอดีนแบบบูรณาการ ปี 57
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การเก็บวัตถุตัวอย่าง และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
จังหวัดนครปฐม.
ประชุมเจรจาข้อตกลงการปฏิบัติงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานภายใน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
การเก็บตัวอย่างปัสสาวะเพื่อวิเคราะห์ ศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่น
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
เริ่ม ออก.
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
การเก็บตัวอย่างอาหาร (สำหรับงานตรวจสอบ) กรณีร้องเรียน, กรณีพิเศษ, กรณีเร่งด่วน จากสถานที่ผลิตอาหาร, จำหน่ายอาหาร, นำเข้า กลุ่มกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาด สำนักอาหาร.
สรุปสถานการณ์ Influenza A (H1N1) มิถุนายน 2552 สรุปสถานการณ์ Influenza A (H1N1) มิถุนายน 2552.
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แนวทางการเฝ้าระวัง (Chikungunya fever) ในสถาบันการศึกษาสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข กลุ่มวิจัยและพัฒนานักระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552 ขั้นตอนการส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (H1N1) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552

การเก็บตัวอย่าง เมื่อพบผู้ป่วยที่สงสัย ให้รายงานสำนักระบาดวิทยา หรือ SRRT ก่อนทุกครั้ง ขอให้คณะผู้เฝ้าระวังการระบาดแต่ละพื้นที่ประสานกับรพ.เอกชน ว่าหากไม่ได้แจ้งผ่าน SRRT ทางห้องปฏิบัติการจะให้บริการโดยคิดค่าใช้จ่ายตามปกติ ควรเก็บตัวอย่างให้เร็วที่สุดภายใน 2-3 วัน หลังจากปรากฏอาการ และเก็บซ้ำอีกครั้งหลังจากมีอาการปอดบวมหรือปอดอักเสบ

* เก็บตัวอย่างรายละ 2-3 หลอด ตัวอย่างส่งตรวจ Throat swab Nasopharyngeal swab Nasopharyngeal aspiration Nasal swab * เก็บตัวอย่างรายละ 2-3 หลอด

การจัดส่งตัวอย่าง ตัวอย่างสารคัดหลั่งหรือ swab ที่บรรจุในภาชนะต้องปิดจุกให้สนิท พันด้วยเทป ปิดฉลาก แจ้งชื่อผู้ป่วย ชนิดของตัวอย่าง วันที่เก็บ บรรจุใส่ถุงพลาสติก รัดยางให้แน่น แช่ในกระติกน้ำแข็งรีบนำส่งทันที พร้อมแบบส่งตัวอย่าง ถ้าจำเป็นต้องรอควรเก็บไว้ในตู้เย็น (4 oc) ห้ามแช่ในช่องแช่แข็งของตู้เย็น (-20 oc) ถ้าต้องการเก็บนานเกิน 48 ชั่วโมง ให้เก็บ –70 oc

หน่วยงานที่รับตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นนทบุรี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง (สงขลา ตรัง สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต สมุทรสงคราม นครสวรรค์ เชียงใหม่ เชียงราย พิษณุโลก นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี และชลบุรี)

วิธีการตรวจวิเคราะห์ ตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัส ( 24 ชั่วโมง) RT-PCR & Real-time PCR หากผลข้างต้นไม่ชัดเจน จะต้องใช้วิธีอื่นๆ อีก (3-4 วัน) Virus culture (option) DNA sequencing (option)

การรายงานผลการตรวจ ไม่พบสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ พบสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด B พบสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A สายพันธุ์ H1/H3 (แต่ไม่ใช่ไวรัสสายพันธุ์ใหม่ชนิด A H1N1) พบสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (H1N1) ตรวจไม่พบสารพันธุกรรมเนื่องจากจำนวนเซลล์ในตัวอย่างไม่เพียงพอ ควรเก็บตัวอย่างอีกครั้ง - ในกรณีที่ 1-3 สามารถรายงานผลได้ภายใน 24 ชั่วโมง แต่กรณีที 4 จำเป็นต้องส่งตรวจซ้ำที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข