ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ ประเด็นสำคัญ ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
กลุ่มโรคไข้หวัดใหญ่และปอดอักเสบ กรณีที่ต้องสอบสวน ปอดบวม หรือ ILI ที่มีประวัติ สัมผัสสัตว์ปีก ในรอบ 7 วัน ก่อนเริ่มป่วย อยู่ในหมู่บ้านที่มีสัตว์ปีกป่วย/ตายในรอบ 14 วันก่อนเริ่มป่วย สัมผัส/อยู่ร่วมสถานที่กับผู้ป่วยปอดบวม/ ILI ในรอบ 10 วันก่อนเริ่มป่วย มีปอดบวม 2 ราย ในครอบครัวเดียวกัน มีปอดบวม 1 ราย ในบุคลากรในโรงพยาบาล ผู้ป่วยในโรงพยาบาลเกิด Hospital acquire pneumonia มีปอดบวม 2 ราย หรือ Influenza like illness > 5 ราย ในชุมชนเดียวกัน โรงเรียน/หมู่บ้าน/ที่ทำงาน/เรือนจำ/สถานเลี้ยงเด็ก
ประเด็นการสอบสวนโรคที่สำคัญ ข้อมูลผู้ป่วย อาการ อาการแสดง วันเริ่มป่วย อาการ ไข้ (ระบุ temp ด้วย) อาการของระบบทางเดินหายใจ การร่วมอื่น ๆ วันที่ทำ CBC, CXR, พร้อมทั้งระบุผล วันที่ทำ Rapid Influenza test ชนิดที่ใช้ ผล การให้ยาต้านไวรัส กรณีที่เป็นผู้ป่วยสงสัย/ ยืนยัน/ เสียชีวิตด้วย pneumonia ให้ถ่ายภาพ CXR ด้วยกล้องดิจิตอล เพื่อประกอบการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ
Clinical progression date 21-01-04 24-01-04 26-01-04 In these 11 cases, the incubation period ranged from 2 to 8 days median was 4 days. Pneumonia developed at day 6 to 12 and all fatal cases rapidly turned to ARDS at day 8 to 18 as this series of chest x-rays from one case demonstrates.
ต่อ ประวัติการสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยง สัตว์ที่สงสัย จำนวน วันเวลาที่สัมผัส ครั้งสุดท้ายที่สัมผัส ลักษณะการสัมผัส (อธิบาย) การสัมผัสกับผู้ป่วยปอดอักเสบรายอื่น ก่อนป่วย การเก็บวัตถุตัวอย่าง ชนิดที่เก็บ วันที่เก็บ การนำส่ง จัดทำทะเบียนผู้สัมผัส ในครอบครัว HCWs ติดตามอาการ : ผู้ป่วย ทุกวัน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง ผู้สัมผัส ติดตามอาการจนกว่าจะครบ 10 วัน
กลุ่มโรคที่นำโดยแมลง โรคไข้เลือดออก กรณีที่สอบสวน ผู้ป่วยสงสัยรายแรกของพื้นที่ ผู้ป่วยนอกฤดูกาล ผู้ป่วยที่เสียชีวิต เพื่อ ยืนยันการวินิจฉัย ทราบสาเหตุของความรุนแรง
ครั้งใหม่ จะปล่อยเชื้อ โรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นได้อย่างไร เชื้อไวรัสจะเข้าไปเจริญในยุง แล้วไปอยู่ในต่อมน้ำลาย ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) กินเลือดผู้ป่วย ยุงลายกินเลือดคน ครั้งใหม่ จะปล่อยเชื้อ ยุง คน เชื้อไวรัสเดงกี จะอยู่ในกระแสเลือดขณะมีไข้ เชื้อไวรัสเข้าสู่คน อาจเป็นเชื้อ DEN-1 หรือ DEN-2 หรือ DEN-3 หรือ DEN-4 แล้วเพิ่มจำนวนในเซล ป่วย สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก 1
การแพร่เชื้อ Dengue virus ไวรัสในกระแสโลหิต ยุงมีเชื้อตลอด 1- 2 เดือน ระยะฟักตัวในยุง 8 -10 วัน กัดเด็ก คนไข้ ขณะมีไข้สูง ระยะฟักตัวในคน 5 - 8 วัน
ประเด็นการสอบสวนที่สำคัญ ยืนยันการวินิจฉัยโรค อาการ และอาการแสดง ของผู้ป่วย เข้าได้กับ DHF ? ผล Lab:- WBC, Hct, Plt, IgM ต่อ Dengue virus ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต โรคประจำตัว
ประเด็นการสอบสวนที่สำคัญ การค้นหาขอบเขตการกระจายของโรคในชุมชน:- ค้นหาผู้ป่วยรายอื่น ๆ สำรวจสภาพแวดล้อมในพื้นที่:- เพื่อค้นหาปัจจัยสนับสนุนการเกิดโรค สรุปผล และเสนอแนะมาตรการควบคุมป้องกันโรคที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ และปฏิบัติได้จริง
ผลการวิเคราะห์ รายงานสอบสวนโรค ในอดีตที่ผ่านมา
จุดอ่อนของรายงานการสอบสวนโรค ความเป็นมา:- ยังไม่ครอบคลุมประเด็นที่ควรจะมี เช่น ข้อมูลของ index case ความจำเป็นที่ต้องสอบสวนโรค ทีมสอบสวน ระยะเวลาที่ออกสอบสวน วัตถุประสงค์ของการสอบสวนโรค ไม่ชัดเจน วิธีการสอบสวนไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ การตั้งนิยามผู้ป่วย เพื่อการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม ส่วนใหญ่ไม่ถูกต้อง ไม่ครอบคลุม
จุดอ่อนของรายงานสอบสวนโรค ไม่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการสอบสวนโรค :- ขนาดของปัญหาการเกิดโรคในครั้งนั้น, ขอบเขต การเกิดโรคไม่ชัดเจน, การถ่ายทอดโรค, ปัจจัย สนับสนุนให้เกิดการแพร่ระบาด เป็นต้น จึงเสมือน เป็นเพียง การบอกข่าว ขาดความครบถ้วนในประเด็นสำคัญ ที่ควรจะมี ลำดับขั้นตอนการเขียนรายงาน วกวน เข้าใจยาก มีเนื้อหามากเกินความจำเป็น เช่น การลอกรายละเอียดใน chart มาเกือบทั้งหมด
ต่อ สรุปและอภิปรายผล :- หลักฐานที่ได้จากการสอบสวนโรคสรุป สาเหตุ ตัวการแพร่กระจาย ข้อจำกัด/ปัญหาอุปสรรค ของการสอบสวนโรค ข้อเสนอเพื่อการควบคุมป้องกันการระบาดในแต่ละครั้ง ยังไม่จำเพาะและเหมาะสมกับสถานการณ์จริง :- การให้ยาแก่ผู้สัมผัสมากเกินความจำเป็น ในกรณีการสอบสวนผู้เสียชีวิต-ทำไมจึงตาย เช่น ความรุนแรงของโรคจากเชื้อตัวใหม่ หรือการเปลี่ยนสายพันธุ์ของเชื้อ หรือ สืบเนื่องจากบริการทางการแพทย์ หรือจากความไม่รู้ของประชาชน หรือ อื่น ๆ ซึ่งในการสอบสวนควรจะระบุสาเหตุที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด เพื่อการให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อการแก้ปัญหาที่แท้จริง
ความมุ่งมั่น พยายาม คือ หนทางสู่ความสำเร็จ สวัสดี