Prevention & Control for Enterovirus

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
หลักสำคัญในการล้างมือ
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
VRE ในโรงพยาบาลศิริราช
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
สัมมนาวิชาการโรคติดต่อที่ก่อให้เกิดความรุนแรงทางระบาดวิทยา
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ตัวอย่างการสอบสวนมือ เท้า ปาก และ EV71
มิ. ย.- ก. ค ปลาย เม. ย.- พ. ค พ. ย HFMD outbreak 2007 from ProMED- mail post พ. ค
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
Crisis Management 3C 1I - Commander - Control Center - Communication
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
Hand-Foot-Mouth Disease/ Enterovirus 71
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาล
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
เครือข่ายครูและผู้ดูแลเด็ก ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
Q Fever. Holly Deyo, URL:
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การล้างมือ (hand washing)
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Prevention & Control for Enterovirus พญ.ทิพย์ประภา ตันศิริสิทธิกุล กรมควบคุมโรค 29 พฤษภาคม 2551

คุณสมบัติของเชื้อไวรัสเอนเทอโร Family : Picornaviridae 20-30 nm in diameter เชื้อมีลักษณะเป็นเชื้อไวรัสที่มี RNA ชนิดไม่มีเปลือกหุ้ม (Simple virus capsid, single strand, Non-enveloped RNA) ทนทานต่อสภาวะที่เป็นกรด Stable at acid pH มีตัวจับเฉพาะ (Specific receptors) ที่ผิวของสำไส้ (Enterocyte)

ความทนทานของเชื้อไวรัสเอนเทอโร (1) เชื้อนี้ค่อนข้างทนต่อภาวะกรด, อีเธอร์ แอลกอฮอล์ และสารดีออกซีโคเลท (Deoxycholate) เชื้อมีชีวิตอยู่ได้หลายวันในอุณหภูมิห้องและเมื่ออยู่ในสภาพที่มีโปรตีนผสม และจะมีชีวิตอยู่นานเป็นสัปดาห์ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นน้ำ หรือสิ่งคัดหลั่งจากร่างกาย และมีรายงานว่าเชื้ออยู่ใด้นานเป็นปี ในอุณหภูมิติดลบ 70 องศาเซลเซียส แสงอุลตราไวโอเล็ต ในสภาพที่แห้ง เชื้อจะมีชีวิตอยู่ไม่นาน

ความทนทานของเชื้อไวรัสเอนเทอโร (2) การต้มที่ 50-60 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที 1% Sodium Hypochlorite, Glutaraldehyde, 0.3% Formaldehyde และคลอรีนผสมน้ำ 0.1 ppm หากทำลายเชื้อในอุจจาระจะต้องใช้คลอรีนที่เข้มข้นมากกว่านี้ เชื้อนี้ถูกทำลายได้โดยวิธีทำให้ปราศจากเชื้อ เช่น steam sterilization, Ethylene Oxide Sterilization (ETO), hydrogen peroxide gas plasma

กลุ่มอาการของโรคติดเชื้อเอนเทอโรไวรัส (1) กลุ่มอาการที่พบบ่อย ไข้ร่วมกับอาการไม่เฉพาะและไม่รุนแรง ไข้ร่วมกับผื่น (Exanthematous fever) โรคติดเชื้อเฉียบพลันที่ระบบหายใจส่วนต้น ตุ่มพองและแผลในคอ (Herpangina) โรคมือ เท้า ปาก (Hand, foot and mouth disease, HFMD) โรคตาแดงอักเสบ (Viral haemorrhagic conjuntivitis)

กลุ่มอาการของโรคติดเชื้อเอนเทอโรไวรัส (2) กลุ่มอาการที่พบได้น้อย ได้แก่ ไข้ร่วมกับเจ็บกล้ามเนื้อหน้าอกและกล้ามเนื้อหน้าท้อง (Pleurodynia) เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Aseptic meningitis) สมองอักเสบ (Encephalitis) อัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (Acute flaccid paralysis) กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myopericarditis)

Enterovirus transmission Incubation period 3-6 days Transmission : fecal-oral (contact), respiratory droplet, tears Survival on environmental surfaces : long enough to allow transmission from fomites Mild or asymtomatic in adults

Enterovirus transmission Viral shedding can occur without signs of clinical illness Respiratory tract shedding 1-3 weeks but usually is limited to a week or less Fecal viral shedding up to 8 weeks after primary infection Tears : EV 70

Primary Prevention Health education & training Hygienic practices: Hand hygiene, cough etiquette

Hygienic practice Children, caregivers Hand washing อ่างน้ำ, สบู่, ผ้า/กระดาษเช็ดมือ กิจกรรมส่งเสริมการล้างมือ และการใช้ผ้าปิดปาก จมูก เวลาไอ จาม

Secondary, Tertiary Prevention and Control Surveillance for early detection and prompt treatment Infection control: standard, enteric, droplet precautions Other control measures: swimming pool, school closing.

การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม การรายงานโรคตามระบบเฝ้าระวังโรคของสำนักระบาดวิทยา การแยกผู้ป่วย: ระมัดระวังเรื่องการสัมผัสสิ่งขับถ่ายต่าง ๆ ของผู้ป่วย การทำลายเชื้อ: กำจัดขยะและน้ำมูก น้ำลาย เสมหะ และสิ่งขับถ่าย ของผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง สวมถุงมือ เครื่องป้องกันร่างกายที่เหมาะสม ล้างมือด้วยน้ำและสบู่ทุกครั้งหลังสัมผัส การกักกัน: ไม่มี การให้ภูมิคุ้มกันแก่ผู้สัมผัส: ไม่มีวัคซีนป้องกัน การสอบสวนผู้สัมผัสและแหล่งโรค: กรณีที่เกิดกลุ่มผู้ป่วยหลายรายในเด็กเล็กหรือผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง

มาตรการป้องกันการแพร่กระจายโรคในสถานพยาบาล การทำความสะอาดมือ อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย การแยกผู้ป่วย เครื่องมือเครื่องใช้สำหรับผู้ป่วย การกำจัดขยะ Spill management การทำความสะอาดห้องผู้ป่วยเมื่อจำหน่าย คำแนะนำเมื่อผู้ป่วยจำหน่ายจากโรงพยาบาล

Infection control in childcare facilities Training and education of caregivers and parents Hand hygiene Proper storage, handling, and preparation of all food items Sanitizing food-handling areas Proper handling of contaminated material : diaper

Infection control in childcare facilities Surveillance Early separation of index cases limitation of the potential of exposure of susceptible persons Standard, enteric, contact and droplet precautions Management of environment

Environment Control พื้นผิวทำสะอาดง่าย แยกพื้นที่ระหว่าง : diaper changing area, play area, food preparation and handling area แยกพื้นที่ระหว่างเด็กเล็ก กับ เด็กโตเพราะเด็กโตอาจถูกปนเปื้อนอุจจาระ

Cleaning and disinfection Detergent Disinfectant : 60-80% ethyl alcohol, sodium hypochlorite พื้นผิวที่เด็กสัมผัสบ่อยๆ , ของเล่น

Future prevention and control Vaccine Disease eradication (Polio and other Enteroviruses)

ข้อมูลเพิ่มเติม แนวทางการปฏิบัติงานโรคมือ เท้า ปาก และโรคติดเชื้อเอนเทอโรไวรัส 71 สำหรับบุคลากรการแพทย์ และสาธารณสุข (2550) เว็บไซต์กระทรวงสาธารณสุข http://www.moph.go.th เว็บไซต์กรมควบคุมโรค http://www-ddc.moph.go.th เว็บไซด์ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย http://www.thaipediatrics.org ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค โทร. 0-2590-3333

Thank you for your attention ขอบคุณครับ

Suppliment slides

Enterovirus Serotypes Subgroup Serotypes Poliovirus Coxsackie A Coxsackie B Echovirus Numbered EV 1-3 1-22 , 24 1-6 1-9 , 11-21, 24-27, 29-31 68-71 Coxsackie A23, Echo 10,22,23 and 28 and EV 72 have been reclassified

เชื้อไวรัสเอนเทอโรที่เป็นสาเหตุของอาการทางคลินิกที่พบบ่อย ดร. เยาวภา พงษ์สุวรรณ

เชื้อไวรัสเอนเทอโรที่เป็นสาเหตุของอาการทางคลินิกที่พบบ่อย ดร. เยาวภา พงษ์สุวรรณ

(Sherris J, 1984)

Peter C. McMinn, 2002