การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ อุบลรัตน์ นฤพนธ์จิรกุล สรุปขั้นตอนปฏิบัติ การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ อุบลรัตน์ นฤพนธ์จิรกุล นักวิชาการสาธารณสุข ๘ สำนักระบาดวิทยา
ขั้นตอนการสอบสวนโรค (STEPS OF INVESTIGATION) ยืนยันการวินิจฉัยโรค ยืนยันการระบาดของโรค ค้นหาผู้ป่วย รายแรก ๆ รายใหม่ รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา เวลา สถานที่ และ บุคคล ตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน กำหนดมาตรการป้องกันเพื่อควบคุมการระบาด ของโรค 7. เขียนรายงาน เพื่อรายงานผู้บริหาร เพื่อพิมพ์เผยแพร่
การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ ผู้ป่วยเฉพาะราย ผู้ป่วยเป็นกลุ่ม
กลุ่มโรคติดต่อโดยทางอาหารและน้ำ Acute Diarrhea Cholera Food Poisoning Dysentery Enteric Fever HFMD Salmonellosis Typhoid Fever Paratyphoid Fever Shigellosis Amoebiasis Hepatitis A
Food and Water-borne Disease Bacteria Bacillus cereus Brucella Campylobacter jejuni Clostridium botulinum Clostridium perfringens Escherichia coli Salmonellosis Shigella spp. Staphylococcus aureus Vibrio parahaemolyticus Vibrio cholerae Virus Hepatitis A Norwalk virus Rota virus Protozoa Entamoeba histolytica Giardia lamblia Toxin & Chemical 1.Marine toxins Ciguatoxin ปลา Scombroid toxin Paralytic shellfish 2.Mushroom toxin ออกฤทธิ์ระยะสั้น ภายใน 1 ชม. ออกฤทธิ์ระยะยาว 6-24 ชม.: Amanita spp. 3.โลหะหนัก: แคดเมียมเหล็ก สังกะสี ตะกั่วฯ 4.Monosodium glutamate (MSG) 5.พิษยาฆ่าแมลง
1. ยืนยันการวินิจฉัย ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วย Upper VS Lower มีอาการไข้ ร่วมด้วยหรือไม่ มีอาการทางระบบประสาท ร่วมด้วยหรือไม่ เช่น ตาพร่า หนังตาตก ใจสั่น เหงื่อออก ปากแห้ง ชัก ฯลฯ อาการอื่น ๆ ของโรคเฉพาะ เช่น ไข้ไทฟอยด์ ตับอักเสบเอ
Lab ช่วยยืนยันการวินิจฉัย Upper เก็บอาเจียนส่งตรวจ Lower เก็บอุจจาระ/Rectal swab culture เก็บอาเจียนด้วย (ถ้ามี) โรคเฉพาะ เช่น ไข้ไทฟอยด์ ตับอักเสบเอ ฯลฯ เก็บตัวอย่างเฉพาะตามโรคนั้น ๆ ดูเอกสาร/คู่มือ การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ
Index cases คลื่นไส้ อาเจียน Bacteria B. cereus (vomiting type) IP 1-6 ชม. ± diarrhea, Abd. pain B. cereus IP 6-24 ชม. S. aureus IP 30 นาที-7 ชม. Vibrio cholerae IP 2-3ชม.-5 วัน V. parahaemolyticus IP 4-96 ชม. E. coli IP 10-72 ชม. watery Mucous or bloody E. coli (EHEC) IP 12-60 ชม.
คลื่นไส้ อาเจียน ± diarrhea,ปวดท้อง, ไข้ Virus Rota IP 1-3 วัน Norwalk IP 24-48 ชม. Bacteria Watery dia. E. coli (EIEC,EPEC) Salmonellosis IP 6-72 ชม. Mucous or bloody Shigella gr.A, B,C,D IP 1-7 วัน
คลื่นไส้ อาเจียน ± diarrhea,ปวดท้อง +อาการทางระบบประสาท: หนังตาตก เห็นภาพซ้อน ตะคริว ชา มึนงง ฯลฯ สารพิษจาก Bacteria:- Clostridium botulinum IP 12-36 ชม. พิษ พืช สัตว์:- เห็ด หอย (Shellfish poisoning) ปลาปักเป้า(Tetrodotoxin) มันสำปะหลังดิบ(Casava poisoning) เมล็ดพืชต่าง ๆ Chemical Organophosphate
2. การยืนยันการระบาดของโรค เปรียบเทียบกับข้อมูลย้อนหลังที่ผ่านมา โดยทั่วไปเราสามารถใช้สามัญสำนึก ในการพิจารณาว่าเป็นการระบาดหรือไม่
3. การค้นหาผู้ป่วย การกำหนดนิยามในการค้นหาผู้ป่วย จะกำหนดให้จำเพาะมาก (Specific) หรือหลวม ๆ (Sensitive) ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการค้นหาผู้ป่วย ควรประกอบด้วย - อาการ/อาการแสดง ตาม Index case - อาจเพิ่มอาการทางทฤษฎี หรือตามนิยามโรค ติดเชื้อประเทศไทย - ระบุ เวลา สถานที่ และ บุคคล
การค้นหาผู้ป่วยใหม่ ผู้สัมผัสและพาหะ ผู้ป่วย = กำหนดนิยามผู้ป่วย เพื่อใช้ในการค้นหา ความผิดพลาดที่พบบ่อยคือ การรวมปัจจัยเสี่ยงเข้าไปในนิยามผู้ป่วย ผู้สัมผัสโรค = ผู้มีประวัติคลุกคลีอย่างใกล้ชิดกับผู้ป่วย ผู้เป็นพาหะ = ผู้สัมผัสโรคที่ไม่มีอาการ แต่ตรวจพบเชื้อ พยายามค้นหาผู้ป่วยรายแรกและผู้ป่วยอื่น ๆ โดยสอบถามคนในบ้านและผู้ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง เก็บวัตถุตัวอย่างของผู้ป่วยและผู้สัมผัส ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4. การรวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา เวลา : วัน / เวลาเริ่มป่วย ให้ทำ Epidemic curve สถานที่ : วิเคราะห์จำนวนและอัตราป่วย ตามสถานที่ บุคคล : วิเคราะห์จำนวนและอัตราป่วย ตามบุคคล
5. การตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน ข้อมูลที่นำมาประกอบการตั้งสมมุติฐาน เพื่อ หาแหล่งแพร่โรค อาจใช้ โรคหรือลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วย ระยะฟักตัว อาหารหรือน้ำที่สงสัย ควรเชื่อมโยงกับผู้ป่วยได้
การสอบสวนประวัติอาหารที่สงสัย ต้องสอบสวนให้ได้รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ส่วนประกอบ วัตถุดิบ วิธีปรุง การเก็บ ผู้ปรุง ผู้จำหน่าย ควรติดตามไปยังแหล่งจำหน่ายวัตถุดิบ หรือแหล่งที่ปรุงและประกอบอาหารที่ต้องสงสัย การสอบสวนผู้ปรุงและจำหน่ายอาหารประวัติการเจ็บป่วย ตรวจร่างกาย รวมทั้งเก็บวัตถุตัวอย่างส่งตรวจ
ตัวอย่างการซักประวัติอาหาร ประวัติอาหาร “ก่อนเริ่มมีอาการป่วย” ไม่ใช่ “ก่อนมารับการรักษา” ซักลักษณะของอาหาร เช่น ยังร้อน หรือ ทิ้งค้าง ซักประวัติอาหารให้ครอบคลุม อาหารอื่นๆ นอกจากมื้อหลัก สาวไปให้ถึงแหล่งอาหารที่สงสัย ไม่หยุดแค่ตัวผู้ป่วย ซักประวัติการรับประทานอาหารในผู้สัมผัสใกล้ชิดด้วย ไม่ต้องให้น้ำหนักมากนักกับอาหารที่ตัวผู้ป่วยเองสงสัย
การพิสูจน์สมมุติฐาน เพื่อหาแหล่งแพร่โรค ผู้ป่วยจำนวนน้อย ให้ส่งตรวจอาหารหรือน้ำที่ สงสัยทั้งหมด ผู้ป่วยจำนวนมาก สามารถทำการศึกษาระบาด เชิงวิเคราะห์ก่อนได้ เช่น Case-control study หรือ Cohort study แล้วส่งตรวจอาหารหรือน้ำที่สงสัย
การยืนยันแหล่งแพร่โรค ยืนยันว่าใช่แหล่งแพร่โรค จากการตรวจ สาเหตุในแหล่งแพร่โรค ตรงกับที่พบในผู้ป่วย น่าจะใช่แหล่งแพร่โรค จากการศึกษาระบาด วิทยาเชิงวิเคราะห์ สงสัยจะใช่แหล่งแพร่โรค จากการศึกษา ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา หรือจากการคาดคะเน
6. การกำหนดมาตรการเพื่อควบคุมการระบาด มาตรการควบคุมป้องกันโรค ควรสอดคล้อง กับผลการสอบสวนโรค มาตรการควบคุมป้องกันโรคที่ควรมี คือ ภายหลังผู้ป่วยรายสุดท้าย ได้เฝ้าระวังต่อ อีกเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 เท่า ของระยะ ฟักตัวสูงสุด เพื่อให้แน่ใจว่า ไม่มีผู้ป่วยราย ใหม่เกิดขึ้นอีก
7. การเขียนรายงาน เพื่อรายงานผู้บริหาร เพื่อพิมพ์เผยแพร่