งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสอบสวนโรค ที่เกิดจากอาหารและน้ำ Food and Water Borne Diseases

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสอบสวนโรค ที่เกิดจากอาหารและน้ำ Food and Water Borne Diseases"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสอบสวนโรค ที่เกิดจากอาหารและน้ำ Food and Water Borne Diseases
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

2 เนื้อหา… ความรู้ทั่วไป สถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษ
ลักษณะของโรคอาหารเป็นพิษ ชนิด สาเหตุ สถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษ การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ

3 Food and Water-Borne (Infectious) Diseases
Acute Diarrhea Cholera Enteric Fever Food Poisoning Dysentery Hepatitis: A, D, E, G, unspecified

4 FOOD POISONING Food poisoning
DEFINITION (CDC, 2004): ILLNESSES ACQUIRED THROUGH CONSUMPTION OF CONTAMINATED FOOD CONTAMINATED FOOD: - WITH MICROORGANISM OR THEIR PRODUCTS (TOXIN) - POISONOUS CHEMICAL - INGESTION OF POISONOUS PLANTS OR ANIMALS

5 Type of Food Poisoning BY CAUSE
Infection type สาเหตุจาก เชื้อก่อโรคต่างๆ :- bacteria, viruses, and parasites Intoxication type สาเหตุจาก สารพิษ (toxins), สารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร :- สารพิษจากเชื้อClostridium botulinum, Staphylococcus aureus, Bacillus cereus, Clostridium perfringens, เห็ดพิษ

6 Cause of Food poisoning
Bacteria Bacillus cereus Brucella Campylobacter jejuni Clostridium botulinum Clostridium perfringens Escherichia coli Salmonellosis Shigella spp. Staphylococcus aureus Vibrio parahaemolyticus Vibrio cholerae Virus Hepatitis A Norwalk virus Rotar virus Protozoa Entamoeba histolytica Giardia lamblia Toxin & Chemical 1.Marine toxins Ciguatoxin ปลา Scombroid toxin Paralytic shellfish 2.Mushroom toxin ออกฤทธิ์ระยะสั้น ภายใน 1 ชม. ออกฤทธิ์ระยะยาว 6-24 ชม.: Amanita spp. 3.โลหะหนัก: แคดเมียมเหล็ก สังกะสี ตะกั่วฯ 4.Monosodium glutamate (MSG) 5.พิษยาฆ่าแมลง

7 Biology Plausibility

8 ขนมจีน แป้งหมัก ข้าวผัด เนื้อไก่และเครื่องในสัตว์
B. cereus S.aureus V. cholerae อาหารทะเล V. cholerae, V. parahaemolyticus เนื้อไก่และเครื่องในสัตว์ Campylobacter EPEC Salmonella spp. V.cholerae Y.enterocolitica

9 อาหารกระป๋อง น้ำแข็ง นม ผักและผลไม้
C. botulinum C. perfringens น้ำแข็ง E. coli Norwalk virus Hepatitis virus นม Campylobacter spp. Salmonella spp Yersinia enterocolitica ผักและผลไม้ Entamoeba histolytica Salmonella spp. Shigella spp

10 น้ำ ไข่ดิบ เห็ด เนื้อโค หมู S. aureus Salmonella spp.
Pathogenic E.coli Giardia lamblia Aeromonas spp. เห็ด Poisonous mushroom เนื้อโค หมู E.coli (EHEC) Salmonella spp. Yersinia enterocolitica

11 ลักษณะอาการของโรคอาหารเป็นพิษ
อาการนำ คือ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง มักมีอุจจาระร่วง ซึ่งลักษณะอุจจาระอาจเป็นน้ำ หรือ เป็นมูกปนเลือด ขึ้นกับเชื้อก่อโรคแต่ละชนิด

12 Food poisoning entero/neuro toxin
S. aureus, B. cereus Food poisoning ระยะฟักตัวน้อยกว่า ชั่วโมง: C. perfringens, B. cereus, ETEC Botulinum ระยะฟักตัว 2 ชั่วโมง - 8 วัน : diplopia, blurred vision, paralysis

13 Food poisoning watery diarrhea (non-invasive)
ปวดท้องรอบสะดือ ท้องอืด ไม่มีไข้ หรือไข้ต่ำ อุจจาระเป็นน้ำ ปริมาณมาก อุจจาระไม่พบเม็ดเลือดขาว EPEC, ETEC, EAEC, Aeromonas spp., V. cholerae, V. parahaemolyticus Giardia lamblia, Salmonella spp., Virus

14 Food poisoning dysentery (invasive)
ปวดท้องน้อย ปวดท้องเบ่ง มีไข้ อุจจาระเป็นมูกหรือเลือด ปริมาณน้อย ตรวจอุจจาระพบเม็ดเลือดขาว Shigella spp., EIEC, EHEC, Salmonella spp., Campylobactor spp., C.difficile, E. histolytica,

15 สถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษ จากการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา

16 การเฝ้าระวังโรคที่มีความสำคัญสูง 2547
โรคที่จะต้องรายงานภายใน 24 ชม. หลังพบผู้ป่วย :- AEFI, Neonatal tetanus, คอตีบ, AFP, Rabies, Anthrax, Meningococcal meningitis, Food poisoning, Cholera, encephalitis, atypical pneumonia suspected SARS, cluster of disease with unknown etiology, acute severely ill or death of unknown etiology รวม 14 โรค/อาการ

17 Proportion of Food-borne Diseases from Diseases Surveillance, Thailand, 1997-2000

18 นิยามในการเฝ้าระวังโรค
เกณฑ์ทางคลินิก ถ่ายอุจจาระเหลวอย่างน้อย 3 ครั้ง ใน 24 ชั่วโมง หรือถ่ายเป็นน้ำ อย่างน้อย 1 ครั้ง อาจร่วมกับอาการอื่นๆ ดังนี้ Intoxication เช่น S. aureus, C. botulinum, B. cereus อาการนำคือ อาเจียน ร่วมกับ ปวดท้อง ท้องเสีย อาจมีอาการทางระบบประสาทร่วมด้วยในกรณีได้รับสารพิษบางชนิด Infectious agent เช่น V. parahaemolyticus, Salmonella spp., Shigella spp., EIEC, EHEC ปนเปื้อนในอาหาร ผู้ป่วยมีอาการ ไข้ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดมวนท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเป็นน้ำ อาจมีมูกเลือด

19 Food-borne Intoxications
Staphylococcal food intoxication Clostridium perfringens food intoxication Bacillus cereus food intoxication Scombroid fish poisoning Ciguatera fish poisoning Shellfish poisoning (paralytic, neurotoxic, diarrhetic and amnesic) Puffer fish poisoning (Tetradotoxin)

20 นิยามในการเฝ้าระวังโรค
เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ Intoxication เพาะเชื้อจากอาหาร/อาเจียน/อุจจาระของผู้ป่วย ทดสอบการสร้างสารพิษของเชื้อที่เพาะขึ้น Infectious agent เพาะเชื้อจากอุจจาระ (stool culture) หรือ rectal swab หรืออาเจียนพบเชื้อก่อโรค

21 เกณฑ์การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ
Individual Case Investigation กรณีผู้ป่วยเสียชีวิต เพื่อหาเชื้อก่อโรคและหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการเสียชีวิต กรณี ผู้ป่วยได้รับสารพิษจากเชื้อ C.botulinum แม้มีเพียงรายเดียวก็ถือว่า เป็นการระบาดของอาหารเป็นพิษ Outbreak Investigation กรณีมีผู้ป่วยเกิดขึ้นหลายราย และมักเกิดหลังจากรับประทานอาหารจากแหล่งร่วม ในช่วงเวลาสั้นๆ ต้องสอบสวนเพื่อยืนยันการระบาด หาเชื้อก่อโรค แหล่งแพร่โรค และกำหนดมาตรการควบคุมป้องกันการระบาดในครั้งนั้นและในอนาคต

22

23 จำนวนการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ตามรายเดือน
ประเทศไทย พ.ศ. 2548

24 จำนวนการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ตามเขตของ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรค ประเทศไทย พ.ศ. 2548 จังหวัดที่มีการระบาดมากที่สุด ได้แก่ ร้อยเอ็ด จำนวน 8 เหตุการณ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ และสุโขทัย จำนวน 6 เหตุการณ์

25 จำนวนการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ตามสถานที่เกิดการระบาด ประเทศไทย พ. ศ
จำนวนการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ตามสถานที่เกิดการระบาด ประเทศไทย พ.ศ. 2548

26 จำนวนการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ตามประเภทอาหารที่เป็นสาเหตุของการระบาด ประเทศไทย พ.ศ. 2548

27 อาหารที่เป็นสาเหตุการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ
เห็ดพิษ ได้แก่ เห็ดหัวกรวยครีบเขียว เห็ดผึ้งไข่ พืชมีพิษ ได้แก่ ดองดึง มะกล่ำตาหนู มะเขือบ้า กลอย อาหารทะเล ได้แก่ พิษจากแมงดาทะเล อาหารอื่นๆ ที่ปรุงสุกไม่ทั่วถึง ซึ่งตรวจพบเชื้อ Vibrio parahaemolyticus สัตว์น้ำจืด พบทั้งกุ้ง หอย ปู ปลา ซึ่งเกิดจากการรับประทานดิบ เช่น ดอง ก้อย ลาบ

28 จำนวนการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ตามแหล่งที่มาของอาหารที่เป็นสาเหตุของการระบาด ประเทศไทย พ.ศ. 2548

29 จำนวนการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ จำแนกตามวิธีการปนเปื้อนของอาหารที่เป็นสาเหตุของการระบาด ประเทศไทย พ.ศ. 2548

30 ร้อยละของรายงานการสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ จำแนก
ตามสาเหตุของการเกิดโรค ประเทศไทย พ.ศ. 2548

31 สาเหตุของการเกิดโรคอาหารเป็นพิษ
แบคทีเรีย 32 เหตุการณ์ (33%) ตรวจเชื้อที่เป็นสาเหตุได้ 20 เหตุการณ์ แบคทีเรียที่พบเป็นสาเหตุมากที่สุด ได้แก่ Salmonella spp. Staphylococcus aureus และ Vibrio parahaemolyticus ตามลำดับ พิษจากพืช/สัตว์ 25 เหตุการณ์ (26%) ได้แก่ เห็ดพิษ พืชมีพิษอื่นๆ แมงดาทะเล และปลาปักเป้า ตามลำดับ สารเคมี ได้แก่ Formalin และ Methomyl

32 Botulism

33 Streptococcus suis infection

34

35 Mushroom poisoning

36 Methemoglobinemia cases after eating sausage,
Ayudhaya, 3 – 11 May 2007 case Age BW (kg) Date-time of Eating of onset Suspected sausage type Pieces Brand 1 3 12 3/5/07 11am 12am Cocktail 9 RF 2 15 8/5/07 3pm 5 pm 6 9/5/07 7pm 8.30 pm 4 19 11/5/07 10am Red sausage 10 Saengthong 6 pm 8 pm Hotdog Sahafarm or RF

37

38 การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ

39 ขั้นตอนการสอบสวนโรค (STEPS OF INVESTIGATION)
ยืนยันการวินิจฉัยโรค ยืนยันการระบาดของโรค ค้นหาผู้ป่วย  รายแรก ๆ  รายใหม่ รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา เวลา สถานที่ และบุคคล ตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน กำหนดมาตรการป้องกันควบคุมการระบาดของโรค เขียนรายงาน  เพื่อรายงานผู้บริหาร  เพื่อพิมพ์เผยแพร่

40 ชนิดของการสอบสวน ผู้ป่วยเฉพาะราย ผู้ป่วยเป็นกลุ่ม

41 เมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วย (Index case)
พิจารณาลักษณะอาการ อาการแสดง ของ Index cases นำไปเปรียบเทียบกับความรู้ ที่ได้จากการทบทวนเอกสารทางวิชาการ

42 Index cases คลื่นไส้ อาเจียน Bacteria ± diarrhea, Abd. pain
B. cereus (vomiting type) IP 1-6 ชม. ± diarrhea, Abd. pain B. cereus IP 6-24 ชม. S. aureus IP 30 นาที-7 ชม. Vibrio cholerae IP 2-3ชม.-5 วัน V. parahaemolyticus IP 4-96 ชม. E. coli IP ชม. watery Mucous or bloody E. coli (EHEC) IP ชม.

43 คลื่นไส้ อาเจียน ± diarrhea,ปวดท้อง, ไข้
Index cases คลื่นไส้ อาเจียน ± diarrhea,ปวดท้อง, ไข้ Virus Rota IP 1-3 วัน Norwalk IP ชม. Bacteria Watery dia. E. coli (EIEC,EPEC) Salmonellosis IP 6-72 ชม. Mucous or bloody Shigella gr.A, B,C,D IP 1-7 วัน

44 คลื่นไส้ อาเจียน ± diarrhea,ปวดท้อง
Index cases คลื่นไส้ อาเจียน ± diarrhea,ปวดท้อง +อาการทางระบบประสาท: หนังตาตก เห็นภาพซ้อน ตะคริว ชา มึนงง ฯลฯ สารพิษจาก Bacteria:- Clostridium botulinum IP ชม. พิษ พืช สัตว์:- เห็ด หอย (Shellfish poisoning) ปลาปักเป้า(Tetrodotoxin) มันสำปะหลังดิบ(Casava poisoning) เมล็ดพืชต่าง ๆ Chemical Organophosphate

45 1. ยืนยันการวินิจฉัย ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วย - Upper VS Lower
- มีอาการไข้ ร่วมด้วยหรือไม่ - มีอาการทางระบบประสาท ร่วมด้วยหรือไม่ เช่น ตาพร่า หนังตาตก ใจสั่น เหงื่อออก ปากแห้ง ชัก ฯลฯ อาการอื่นๆ ของโรคเฉพาะ เช่น ไข้ไทฟอยด์ ตับอักเสบเอ

46 ดูเอกสาร/คู่มือ การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ
Lab ช่วยยืนยันการวินิจฉัย - Upper เก็บอาเจียนส่งตรวจ - Lower เก็บอุจจาระ / RSC เก็บอาเจียนด้วย (ถ้ามี) โรคเฉพาะ เช่น ไข้ไทฟอยด์ ตับอักเสบเอ ฯลฯ เก็บตัวอย่างเฉพาะตามโรคนั้น ๆ ดูเอกสาร/คู่มือ การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ

47 2. การยืนยันการระบาดของโรค
เปรียบเทียบกับข้อมูลย้อนหลัง มีความเชื่อมโยงกันทางระบาดวิทยาของผู้ป่วยแต่ละราย

48 เพื่อให้ได้ภาพของการระบาดที่สมบูรณ์ที่สุด
3. การค้นหาผู้ป่วย Case finding รายแรก ๆ รายใหม่ เพื่อให้ได้ภาพของการระบาดที่สมบูรณ์ที่สุด กำหนดนิยามผู้ป่วย

49 การกำหนดนิยามในการค้นหาผู้ป่วย
ควรประกอบด้วย อาการ/อาการแสดง ตาม Index case อาจเพิ่มอาการทางทฤษฎี หรือตามนิยามโรค ติดเชื้อประเทศไทย ระบุ เวลา สถานที่ และบุคคล จะกำหนดให้ จำเพาะมาก (Specific) หรือ หลวม ๆ (Sensitive) ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ของการค้นหาผู้ป่วย

50 ตัวอย่างการกำหนดนิยามผู้ป่วย
ระหว่างวันที่ เมษายน 2541 ได้รับรายงานผู้ป่วย ซึ่งน่าจะเป็นโรคโบทูลิซึ่ม จาก 2 หมู่บ้าน ข้อมูลเบื้องต้นพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่รับประทานหน่อไม้อัดปี๊บ นิยามผู้ป่วยที่เหมาะสมคือ ผู้ป่วย หมายถึง  ประชากรในหมู่บ้านทั้ง 2 แห่ง  ที่มีอาการอย่างน้อย 3 ใน 10 อย่างต่อไปนี้ ได้แก่ หนังตาตก กลืนลำบาก พูดไม่ชัด เสียงแหบ ปากแห้ง เจ็บคอ อุจจาระร่วง อาเจียน และแขนขาอ่อนแรงแบบสมมาตร  ในระหว่างวันที่ เมษายน 2541

51 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2550 เวลาประมาณ 12. 00 น. ได้รับรายงานจาก รพ
เมื่อวันที่ 10 เมษายน เวลาประมาณ น. ได้รับรายงานจาก รพ.วังหิน ว่ามีผู้ป่วย 14 ราย จาก ม.3 ต.ดวนใหญ่ อ.วังหิน จ.ศรีสะเกษ เข้ารับการรักษาด้วยอาการ คลื่นไส้ อาเจียน เหนื่อย อ่อนเพลีย บางรายมีถ่ายเป็นน้ำ ปวดท้อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่ให้ประวัติว่ารับประทานกุ้งจ่อมก่อนป่วย นิยามผู้ป่วย หมายถึง ประชาชนในหมู่ที่ 3 ต.ดวนใหญ่ อ.วังหิน จ.ศรีสะเกษ ที่มีอาการ คลื่นไส้อาเจียน ร่วมกับอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้:- ปวดท้อง ถ่ายเหลว อ่อนเพลีย ในระหว่างวันที่ 7 – 10 เมษายน 2550

52 สร้างแบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย
ข้อมูลส่วนบุคคล: ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ข้อมูลประชากร: อายุ เพศ วันเดือนปีเกิด ข้อมูลอาการป่วย: อาการและอาการแสดง ความรุนแรง เวลาเริ่มป่วย การรักษาต่าง ๆ ระยะเวลาที่มีอาการป่วย ข้อมูลด้านปัจจัยเสี่ยง:- ประวัติการรับประทานอาหาร น้ำ เครื่องดื่มต่าง ๆ ที่สงสัย (ก่อนเริ่มมีอาการป่วย) ข้อมูล อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

53 แบบเก็บข้อมูลผู้ป่วยเพิ่มเติม
Identifying info. Demographic info. Risk factors Clinical info.

54 4. การรวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
บุคคล : วิเคราะห์จำนวนและอัตราป่วย ตามบุคคล สถานที่ : วิเคราะห์จำนวนและอัตราป่วย ตามสถานที่ เวลา : วัน/เวลาเริ่มป่วย ให้ทำ Epidemic curve

55 ผลการสอบสวน มีผู้ป่วยรวม 16 ราย เป็นผู้ป่วยที่เข้ารักษาใน รพ. 15 ราย และค้นพบในชุมชน 1 ราย มีการกระจายดังนี้ เพศ ชาย 7 หญิง 9 ราย อายุ 7 เดือน – 45 ปี เป็นเด็ก 7 เดือน – 6 ปี = 6 ราย นร. นศ. 13 – 20 ปี = 4 ราย วัยทำงาน ปี = 6 ราย พบใน 4 อำเภอ คือ บางปะอิน 8 ราย พระนครศรีอยุธยา 6 ราย บางปะหัน และ วังน้อย อำเภอละ 1 ราย

56 จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค จำแนกรายอำเภอ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ 11-20 ธันวาคม 2550
บ้านแพรก มหาราช ท่าเรือ บางปะหัน นครหลวง ผักไห่ ภาชี บางบาล 1/ 2.9 นครหลวง อยุธยา อุทัย บางซ้าย เสนา วังน้อย บางปะอิน บางไทร ลาดบัวหลวง cluster = 1 passive case = active case 56

57 จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค ตามวันเริ่มป่วย รายอำเภอ
จ.พระนครศรีอยุธยา เดือนธันวาคม 2550 เริ่มสอบสวน active case จัดงานมรดกโลก วันที่ 7-16 ธ.ค. 2550 ไม่พบคลอรีน ตกค้างในน้ำประปา

58 ผลการสอบสวนผู้ป่วยอหิวาตกโรคที่พบพระ
งานศพผู้ป่วยรายแรก ครอบครัวของผู้ป่วยรายแรก งานศพที่ บ้านนาย ช. ผู้ป่วยสงสัยรายแรก เสียชีวิต นาย ช. ผู้ป่วยสงสัยรายแรก ผู้ป่วยมา รพ. ผู้ป่วยค้นหา ผู้สัมผัส

59 5. การตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน
ข้อมูลที่นำมาประกอบการตั้งสมมุติฐาน โรคหรือลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วย ระยะฟักตัว อาหารหรือน้ำที่สงสัย ควรเชื่อมโยงกับ ผู้ป่วยได้ อาหารนั้นปนเปี้อนมาได้อย่างไร

60 การพิสูจน์สมมุติฐาน เพื่อหาแหล่งแพร่โรค
โดยการเก็บวัตถุตัวอย่างที่สงสัย ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่างถูกต้องและเหมาะสม - ผู้ป่วยจำนวนน้อย ให้ส่งตรวจอาหารหรือน้ำที่ สงสัยทั้งหมด ผู้ป่วยจำนวนมาก สามารถทำการศึกษา ระบาดเชิงวิเคราะห์ก่อนได้ เช่น Case-control study หรือ Cohort study แล้วส่งตรวจอาหารหรือน้ำที่สงสัย

61

62 ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
โดยการใช้กลุ่มเปรียบเทียบ วิธีการที่ใช้บ่อยคือ @ Case-control study เปรียบเทียบดูว่า ผู้ป่วย และผู้ไม่ป่วย มีประวัติการได้รับ ปัจจัยเสี่ยงแตกต่างกันกี่เท่า @ Cohort study เปรียบเทียบดูว่า ผู้ที่ได้รับ ปัจจัยเสี่ยง กับ ผู้ที่ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง มีโอกาสป่วยแตกต่างกันกี่เท่า

63 Case-control study กลุ่มศึกษา กลุ่มที่เกิดโรค กลุ่มเปรียบเทียบ
มีปัจจัยที่สงสัย ไม่มีปัจจัยที่สงสัย กลุ่มที่เกิดโรค กลุ่มเปรียบเทียบ มีปัจจัยที่สงสัย ไม่มีปัจจัยที่สงสัย กลุ่มที่ไม่เกิดโรค

64 การวิเคราะห์ข้อมูล Odds Ratio Odds คืออะไร
คือ อะไร = Ratio of two odds Odds คืออะไร = โอกาสของการเกิดเหตุการณ์ (มีปัจจัย) เทียบกับ โอกาสของการ ไม่เกิดเหตุการณ์(ไม่มีปัจจัย) 95 % CI of Odds Ratio

65 Odds ใน Case-control study
ป่วย ไม่ป่วย a b มีปัจจัย c d ไม่มีปัจจัย Odds ใน Case-control study Odds ของการมีปัจจัยในผู้ป่วย = a/c Odds ของการมีปัจจัยในกลุ่มเปรียบเทียบ = b/d Odds ratio = (a/c) / (b/d) = ad / bc

66 ตัวอย่าง จากการสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ
ตัวอย่าง จากการสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ ป่วย ไม่ป่วย กินลาบหมู 44 20 ไม่กินลาบหมู 6 80 50 100 a b c d Odds Ratio (OR) = a/c = ad/bc b/d 44/6 20/80 = = 29.3 หาค่า 95 % CI ของ Odds ratio = – 89.6

67 Cohort study กลุ่มศึกษา a กลุ่มที่มีปัจจัย b กลุ่มเปรียบเทียบ c
กลุ่มเกิดโรค กลุ่มไม่เกิดโรค a กลุ่มที่มีปัจจัย b กลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มเกิดโรค กลุ่มไม่เกิดโรค c กลุ่มที่ไม่มีปัจจัย d

68 การวิเคราะห์ข้อมูล a b a + b c d c + d a + c b + d c / ( c + d )
เกิดโรค ไม่เกิดโรค มีปัจจัยเสี่ยง a b a + b ไม่มีปัจจัยเสี่ยง c d c + d a + c b + d a+b+c+d ความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง = a / ( a + b ) ความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง = c / ( c + d ) a / ( a + b ) c / ( c + d ) Risk Ratio = 95 % CI of Risk Ratio

69 การยืนยันแหล่งแพร่โรค
ยืนยันว่าใช่แหล่งแพร่โรค จากการตรวจ สาเหตุในแหล่งแพร่โรค ตรงกับที่พบในผู้ป่วย น่าจะใช่แหล่งแพร่โรค จากการศึกษา ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ สงสัยจะใช่แหล่งแพร่โรค จากการศึกษา ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา หรือ จากการ คาดคะเน

70 6. การกำหนดมาตรการเพื่อควบคุมการระบาดของโรค
มาตรการควบคุมป้องกันโรค ควรสอดคล้อง กับผลการสอบสวนโรค มาตรการควบคุมป้องกันโรคที่ควรมี คือ ภายหลังผู้ป่วยรายสุดท้าย ได้เฝ้าระวังต่อ อีกเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 เท่า ของระยะ ฟักตัวสูงสุด เพื่อให้แน่ใจว่า ไม่มีผู้ป่วย รายใหม่เกิดขึ้นอีก

71 หลักการควบคุมโรค การควบคุมแหล่งโรค: ตัดวงจรการถ่ายทอดโรค:
กำจัดแหล่งโรค เคลื่อนย้ายคนออกจากพื้นที่เสี่ยง แยกผู้ป่วยและให้การรักษา ทำลายเชื้อ ตัดวงจรการถ่ายทอดโรค: ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ควบคุมพาหะนำโรค ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เพิ่มภูมิคุ้มกันในคน: ให้วัคซีนหรือให้ยาป้องกัน

72 WHO กฎทอง 10 ข้อสำหรับการเตรียมอาหาร
เลือกอาหารที่ผ่านขบวนการผลิตอย่างปลอดภัย ปรุงอาหารให้สุกทั่วถึงก่อนรับประทาน รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ เก็บอาหารที่ปรุงสุกแล้วอย่างดี อุ่นอาหารที่จะนำมารับประทานใหม่ให้สุกทั่วถึง หลีกเลี่ยงการสัมผัสระหว่างอาหารดิบและอาหารที่ปรุงสุก ไม่นำอาหารสุกและอาหารดิบมาปะปนกัน ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆ ดูแลความสะอาดของพื้นที่สำหรับเตรียมอาหาร ปกปิดอาหารให้ปลอดภัยจากแมลง หนู และสัตว์อื่นๆ ใช้น้ำสะอาดในการปรุงอาหาร

73 วิธีการล้างมืออย่างถูกสุขลักษณะ
ก่อนและหลังการปฏิบัติงาน ระหว่างการปฏิบัติงาน หากมีการ สัมผัสกับสิ่งสกปรก ภายหลังออกจากห้องน้ำ ห้องส้วม หลังการไอ จาม แกะ เกา 1. ฝ่ามือถูฝ่ามือ และนิ้ว ถูซอกนิ้ว 7. ล้างถึงข้อศอก 2. ฝ่ามือถูหลังมือ และนิ้วถู ซอกนิ้ว 6. ถูรอบข้อมือ 3. หลังนิ้วมือถูฝ่ามือ 5. ปลายนิ้วถูขวางฝ่ามือ 4. ถูนิ้วหัวแม่มือโดยรอบ ด้วยฝ่ามือ หมายเหตุ : ต้องล้างด้วยน้ำและสบู่ ทุกขั้นตอนทำ 5 ครั้ง สลับกันทั้ง 2 ข้าง

74 7. การเขียนรายงาน เพื่อรายงานผู้บริหาร เพื่อพิมพ์เผยแพร่

75 ผู้ทำการสอบสวนโรค ต้องรีบเขียนรายงานสรุปการสอบสวนให้เร็วที่สุด ซึ่งต้องมีองค์ประกอบสำคัญ 4 อย่าง คือ ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการสอบสวน วิธีการสอบสวน ผลการสอบสวน ข้อสรุป & ข้อเสนอแนะเพื่อการควบคุมและ ป้องกันโรค

76 ส่งกลับให้ผู้เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์
* กลุ่มผู้บริหารที่มีหน้าที่ในการควบคุมโรค * กลุ่มเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีหน้าที่เฝ้า ระวังและควบคุมโรคในชุมชน * กลุ่มประชาชนและชุมชนที่เกิดโรค หรือ ประชาชนทั่วไป

77 ติดตามผลการดำเนินงานสอบสวนโรค
ตามข้อเสนอแนะที่ได้จาก การสอบสวนโรค

78 ? ขั้นตอนภาคปฏิบัติ นพ.ธวัช จายนียโยธิน เตรียมตัวให้พร้อม
น้อมรับเรื่องราว กรองข่าวให้ใส ไปที่เกิดเหตุ สังเกตว่าจริง สิ่งนั้นคืออะไร ใครคือผู้ป่วย หาด้วยรายแรก แบ่งแยกสัมพันธ์ ตั้งฐานสมมุติ พิสูจน์โดยใช้ PLACE TIME PERSON อย่าเนิ่นแนะนำ อาจทำให้เห็น เขียนเป็นรายงาน ? นพ.ธวัช จายนียโยธิน

79 สวัสดี

80 เสี่ยง Iceberg Phenomenon รายงานโรค ไป รพ. ติดเชื้อ ... มีอาการ
แต่ไม่ไป รพ. ติดเชื้อ ... เสี่ยง


ดาวน์โหลด ppt การสอบสวนโรค ที่เกิดจากอาหารและน้ำ Food and Water Borne Diseases

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google