เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
VDO conference dengue 1 July 2013.
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ การป้องกัน/ควบคุมการระบาดก็ยังดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

ข้อสั่งการ Warroom กระทรวง เมื่อ 13 มิถุนายน 56

ให้เปิด War room ทุกจังหวัด ประกอบด้วยผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายในหน่วยงานสาธารณสุขและนอกหน่วยงาน (ตามดุลยพินิจของจังหวัด) ติดตามสถานการณ์ ให้ข้อเสนอแนะ ชี้เป้าพื้นที่เสี่ยง ติดตามผลการดำเนินงาน ฯลฯ ยุทธศาสตร์ 5 เสือ : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1) มอบ ผชชว. เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ ในระดับจังหวัด 2) มอบให้ สคร จัดผู้รับผิดชอบ 1 คน/จังหวัด 3) รพศ/รพท. ขอให้มีแพทย์ 1 คน เป็นหัวหน้าทีมรับผิดชอบเป็นพี่เลี้ยงในการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ บุคลากร ในจังหวัด 4) รพช. มีแพทย์หรือพยาบาลอาวุโส 1 คน เป็นผู้รับผิดชอบ 5) จัดให้มีตัวแทน SRRT ระดับอำเภอ ในส่วนปฏิบัติการ 1 คน โดยให้ดำเนินการประสานงานอย่างใกล้ชิด ทั้งในระดับจังหวัด และระดับอำเภอ

ผชช.ว : ภารกิจเน้นในด้านมาตรการ ควบคุมกำกับและประเมินผล สรุปข้อสั่งการ การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 16/2556 วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ผชช.ว : ภารกิจเน้นในด้านมาตรการ ควบคุมกำกับและประเมินผล ติดตามประเมินผลเป็นรายอำเภอ โดย สคร เป็นทีมช่วยออกประเมินในพื้นที่ให้ชัดเจน ประสานและรายงานท่านผู้ตรวจฯ เกี่ยวกับแนวทางและปัญหาอุปสรรค เพื่อสรุปผลเสนอต่อรองปลัดฯ (นพ.โสภณ ) ทุกวันอังคาร

5 เสือ เป็นใคร ควรมีบทบาทอย่างไร หน่วยงาน บุคคล บทบาท 1 สสจ. ผชช.ว. เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ตามระบบ ICS (เมื่อเปิด War room) หรือ Mr.Dengue 2 สคร. ผู้ประสานจังหวัด ที่ปรึกษาทางวิชาการ ประสานส่วนกลาง และเป็นผู้แทนทีมประเมินผลของ สคร. 3 รพศ./รพท. รองฯแพทย์ หรือแพทย์ที่ได้รับมอบหมาย เป็น Case manager ระดับจังหวัด (หรือ Dr.Dengue) เป็นพี่เลี้ยงให้กับโรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัด 4 รพช. แพทย์หรือพยาบาลอาวุโส เป็น Case manager ระดับอำเภอ บริหารจัดการให้ผู้ป่วยทุกรายในอำเภอ ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ 5 ทีม SRRT อำเภอ ผู้แทนหรือแกนหลักของทีม เป็นผู้แทนทีมปฏิบัติการในพื้นที่ของอำเภอ

Case manager Disease manager การควบคุมการระบาดในชุมชน การจัดการระบบรักษาและควบคุมโรคใน รพ. ต้องจัดการให้ผู้ป่วยโดยเฉพาะผู้ป่วยหนักได้รับการรักษาที่เหมาะสม ซึ่งจะครอบคลุมตั้งแต่การจัดระบบบริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน สำรองเตียง การส่งต่อ การสื่อสารระหว่าง รพ.เล็ก กับ รพ.ใหญ่ Disease manager การควบคุมการระบาดในชุมชน การจัดทีมออกดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรค การประสานให้ทุกภาคส่วนกำจัดลูกน้ำต่อเนื่อง การจัดระบบสั่งการ war room

องค์ประกอบ Dengue corner Staff: พยาบาลคัดกรอง มีความรู้เรื่องไข้เลือดออก Structure: เครื่องมือตรวจ vital sign ยาทากันยุง เอกสารแนะนำการสังเกตอาการ และการปฏิบัติตัว CPG หรือ แผนภูมิการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วย Support:

แนวทางการดำเนินงาน Dengue corner (กรมฯแนะนำ 1 ก.ค.56) 1. การตรวจคัดกรองตามแนวทาง CPG สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ 2. ให้ผู้ป่วยทายากันยุง 3. การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยสงสัยที่จะกลับบ้านประกอบด้วย: ในกลุ่ม – แพทย์สงสัยว่าท่านป่วยเป็นไข้เลือดออก – แพทย์จะยังไม่รับไว้ในโรงพยาบาล ประเด็น : – ท่านจะมีอาการไข้สูงลอย ในวันที่ 3-4 นับจากมีไข้วันแรกจะอยู่ใน ช่วงวิกฤต หากกลับบ้านแล้วมีอาการกินไม่ได้ อาเจียน ให้มาพบแพทย์ – ให้ผู้อยู่ร่วมบ้านฉีดยาฆ่ายุงและสำรวจเพื่อกำจัดลูกน้ำ – แจ้งเตือนเพื่อนบ้านว่าไข้เลือดออกระบาดในหมู่บ้าน ให้ร่วมกันกำจัดลูกน้ำ        

ไม่มี -> -ตรวจ CBC ถ้ามีไข้มากกว่า 48 ชม. ไข้สูง> 38.5oC ไม่มีอาการเฉพาะ การตรวจคัดกรองที่แผนกผู้ป่วยนอกในรพช. [อ้างอิงสำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 2547] ตรวจทูนิเกต์ บวก ลบ ซักประวัติตรวจร่างกาย ปวดท้องมาก อาเจียนมาก เลือดออก มีภาวะขาดน้ำ ช็อค (pulse pressure แคบเช่น 100/80 mmHg) ความดันต่ำ ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็น เหงื่อออก ระบบไหลเวียนโลหิตปลายมือปลายเท้าไม่ดี capillary refill>2 วินาที ให้การรักษาเบื้องต้น นัดตรวจติดตามถ้าอาการทั่วไปดี ไม่มีภาวะช็อคหรือขาดน้ำ ตรวจทูนิเกต์ซ้ำ ในกรณีมีไข้มากกว่า 48 ชั่วโมงให้พยายามหาสาเหตุ ไม่มี -> -ตรวจ CBC ถ้ามีไข้มากกว่า 48 ชม. -นัดตรวจติดตาม หรือพิจารณา admit มี -> admit

มาตรการ 3-3-1 ควบคุมโรคไข้เลือดออก เน้นการแก้ไขปัญหาให้ตรงจุด (ประเมินจากสถานการณ์รายสัปดาห์ของพื้นที่) เน้นการควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในพื้นที่ ที่พบผู้ป่วย แจ้งรายงานผู้ป่วยให้หน่วยงานควบคุมโรคทราบ ภายใน 3 ชั่วโมง กำชับ อสม. ให้ลงดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่บ้าน/ชุมชนผู้ป่วย ภายใน 3 ชั่วโมง ทีม SRRT ลงดำเนินการควบคุมโรคในพื้นที่ ภายใน 1 วัน

สคร. ต้องทำอะไรบ้าง ติดตามสถานการณ์โรค ชี้เป้าถึงระดับอำเภอ ตำบล สุ่มประเมิน HI ชุมชน, CI โรงเรียน, CI โรงพยาบาล CI วัด CIศูนย์เด็กเล็ก HI ≤ 10 CI=0 (แจ้ง ผชช.ว. และรายงานผู้ตรวจฯ) ประเมินประสิทธิภาพและปัญหาการปฏิบัติงานของ SRRT อำเภอ สนับสนุนการดำเนินการของจังหวัด ตามยุทธศาสตร์ และการควบคุมโรคในกรณีเกิดการระบาด