ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

BC421 File and Database Lab
11. การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบเชิงสัมพันธ์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
HO Session 14: Database Design Principles
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ทำความรู้จักและใช้งาน
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
Security and Integrity
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Normalization.
บทที่ 3 ระบบฐานข้อมูล Database system
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
ส่วนที่ 4 System Design การออกแบบระบบ.
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
Chapter 3 แบบจำลองข้อมูล : Data Models
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
การแปลง E-R เป็น Table.
ระบบสารสนเทศเพื่อการขายสินค้า ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
Entity Relationship Model
The Relational Data Model
การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ
Data Modeling Chapter 6.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
บทที่ 5 การทำงานกับหลาย Table
โมเดลจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (ER-Diagram)
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
โปรแกรม Microsoft Access
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
งานกลุ่ม กลุ่มที่ 3 เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
E-R to Relational Mapping Algorithm
Chapter 1 : Introduction to Database System
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
Introduction to Database
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากใช้งานง่าย เพราะผู้ใช้จะทำงานร่วมกับข้อมูลในรูปของตารางหรือ Table เป็นการเก็บข้อมูลแบบ 2 มิติ ที่ประกอบด้วยข้อมูลแต่ละแถวในแนวนอน ทำให้สามารถเชื่อมโยงหรือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มข้อมูลหรือ ตารางรางที่เกี่ยวข้องในฐานข้อมูลเดียวกันได้

สำหรับโครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่สามารถเรียกใช้ข้อมูลได้ในรูปของตารางนี้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบว่าข้อมูลจะถูกเก็บจริงในลักษณะใด แต่สามารถกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตารางต่าง ๆในฐานข้อมูลด้วยกันเอง

ศัพท์ที่ควรรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูล เอนทิตี้ หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อ้างถึงในฐานข้อมูล ประกอบด้วยกลุ่มข้อมูลประเภทเดียวกันที่เป็นสมาชิกของเอนทิตี้นั้น เช่น ถ้ากล่าวเอนทิตี้พนักงานจะหมายถึงกลุ่มคนทั้งหมดที่เป็นพนักงาน แอตทริบิวต์ หมายถึง สิ่งที่ใช้บอกองค์ประกอบหรือเนื้อหา (subject) ของเอนทิตี้ เช่น เอนทิตี้พนักงาน จะประกอบด้วย แอตทริบิวต์ต่าง ๆ คือ รหัสประจำตัว ชื่อ นามสกุล

รีเลชั่น (Relation) หมายถึง รูปแบบของตารางแบบ 2 มิติ ที่ประกอบด้วยแต่ละแถวที่เรียกว่า ทูเพิล(Tuple) และแต่ละคอลัมน์ที่เรียกว่า แอตทริบิวต์ (Attribute)

ความสัมพันธ์ (Relationship)

ความสัมพันธ์แบบ 1:1 (One-to-One)

ความสัมพันธ์แบบ 1:N (One-to-Many) เป็นความสัมพันธ์ที่เรคคอร์ดในตารางใด ๆ สามารถจับคู่กับเรคคอร์ดในอีกตารางหนึ่งได้หลายเรคคอร์ด ตัวอย่างเช่น อาจารย์ที่ปรึกษาที่มีนักศึกษาในความรับผิดชอบได้หลายคน แต่นักศึกษาแต่ละคนจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงคนเดียวเท่านั้น

ความสัมพันธ์แบบ M:N (Many-to-Many) เป็นความสัมพันธ์ที่เรคคอร์ดหลาย ๆเรคคอร์ดในตารางหนึ่ง มีความสัมพันธ์กับอีกหลาย ๆเรคคอร์ดในอีกตารางหนึ่งพร้อมกัน เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างตารางลูกค้า และตารางสินค้า ลูกค้าหนึ่งคนสามารถซื้อสินค้าได้หลายชนิด ในขณะที่สินค้าแต่ละชนิดก็จะถูกซื้อโดยลูกค้าหลาย ๆ คนได้ด้วย

คีย์ (Key) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการข้อมูลควรกำหนดคีย์ (Key) ให้กับตารางเพื่อใช้จำแนก เรคคอร์ดและกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง เช่นกำหนดรหัสประจำตัวให้กับพนักงานทุกคนในตารางพนักงาน คีย์ที่ใช้ในระบบฐานข้อมูลมีหลายอย่างดังนี้

คีย์หลัก (Primary Key) หมายถึง เขตข้อมูลย่อยที่ไม่ซ้ำกันเลยในแต่ละแถวข้อมูล สามารถที่จะบ่งชี้ระเบียนแต่ละระเบียนได้

ดัชนี (Index) หรือ คีย์รอง (Secondary Key) เป็นคีย์ที่ใช้ค้นหาหรือจัดเรียงกลุ่มเรคอร์ดที่มีจำนวนมากได้อย่างรวดเร็ว คีย์คู่แข่ง (Candidate Key) หมายถึง เขตข้อมูลย่อยที่ไม่ซ้ำกันเลยในแต่ละแถวข้อมูล มีมากกว่า 1ฟิลด์ ซึ่งสามารถทำหน้าที่เป็นคีย์หลักแทนกันได้

คีย์ร่วม (Composite Key) หรือคีย์ผสม หมายถึง การนำฟิลด์ ตั้งแต่ 2 ฟิลด์ ขึ้นไปมารวมกันเพื่อกำหนดให้เป็นคีย์หลักเนื่องจากในบางครั้งการสร้างคีย์หลักจากฟิลด์เดียวอาจมีโอกาสที่จะเกิดข้อมูลซ้ำกัน

คีย์นอก (Foreign Key) หมายถึง คีย์หลักจากตารางภายนอก เป็นคีย์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชั่น ใช้เพื่อกำหนดให้ข้อมูลในรีเลชั่น หนึ่งมีค่าตรงกับคีย์หลักของอีกรีเลชั่นหนึ่งเป็นคีย์ที่ใช้เชื่อมโยงตารางที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกัน

กฎที่ใช้ควบคุมการคงสภาพความถูกต้องของข้อมูล (Integrity Constraint) กฎการคงสภาพของเอนทิตี้ (Entity Integrity Constraint) ควบคุมการคงสภาพความถูกต้องของข้อมูลในตารางเดียวกัน กฎการคงสภาพการอ้างอิง (Referential Integrity Constraint) ควบคุมการคงสภาพความถูกต้องของความสัมพันธ์ระหว่างตาราง