สมดุลเคมี Chemical Equilibrium

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Photochemistry.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
พลังงานอิสระ (Free energy)
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สมบัติของสารและการจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
หินแปร (Metamorphic rocks)
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Introduction to Statics
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ตอนที่ 1 การเตรียมแก๊ส NO2
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สารประกอบ.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
การทดลองที่ 3 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ภาวะโลกร้อน.
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมดุลเคมี Chemical Equilibrium 16/06/25503 สมดุลเคมี Chemical Equilibrium สาขาวิชาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล Chemical Equilibrium

สภาวะสมดุล (Equilibrium State) หมายถึงภาวะของระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงผันกลับได้ ในระบบ ปิด มีอัตราการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลี่ยน แปลงย้อนกลับ จึงทำให้สมบัติของระบบคงที่ FLAS: Chemical Equilibrium

สมบัติของระบบคงที่ สังเกตได้จาก 1.ปริมาณสารทุกสารในระบบคงที่ 2.ต้องมีสารทุกสารเหลืออยู่ในระบบ 3.ความดันคงที่ (กรณีแก๊ส) 4.อุณหภูมิคงที่ 5.ถ้ามีความเป็นกรด-เบสเกี่ยวข้อง pH คงที่ 6.กรณีที่สารมีสี ความเข้มของสีจะคงที่ FLAS: Chemical Equilibrium

ปฏิกิริยาผันกลับได้ (Reversible Reaction) คือปฏิกิริยาที่สารผลิตภัณฑ์สามารถเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ และได้สารตั้งต้นกลับคืนมา สารตั้งต้น (reactant) ผลิตภัณฑ์ (product) N2O4(g) 2NO2(g) ปฏิกิริยาไปข้างหน้า (forward reaction) N2O4(g) 2NO2(g) ปฏิกิริยาย้อนกลับ (backward reaction) 2NO2(g) N2O4(g) FLAS: Chemical Equilibrium

FLAS: Chemical Equilibrium

สภาวะสมดุล (Equilibrium State) N2O4(g) 2NO2(g) ไม่มีสี สีน้ำตาล เมื่อระบบอยู่ที่สมดุลและมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะ ของระบบ อาจเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าหรือย้อนกลับได้ เปลี่ยนอุณหภูมิ เพิ่มหรือลดความดัน เพิ่มความเข้มข้นของสารแต่ละตัว FLAS: Chemical Equilibrium

อัตราการเกิดปฏิกิริยากับสมดุลเคมี สารตั้งต้น  ผลิตภัณฑ์ (ก่อนภาวะสมดุล) ผลิตภัณฑ์สารตั้งต้น (ก่อนภาวะสมดุล) FLAS: Chemical Equilibrium

จำนวนโมลสารกับการดำเนินเข้าสู่ภาวะสมดุล FLAS: Chemical Equilibrium

จำนวนโมลสารกับการดำเนินเข้าสู่ภาวะสมดุล FLAS: Chemical Equilibrium

FLAS: Chemical Equilibrium N2O4 2NO2 การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ NO2 และ N2O4 (A) เริ่มจาก N2O4 เพียงอย่างเดียว (B) เริ่มจาก NO2 เพียงอย่างเดียว FLAS: Chemical Equilibrium

FLAS: Chemical Equilibrium

FLAS: Chemical Equilibrium ประเภทของภาวะสมดุล 1.สมดุลของการเปลี่ยนสถานะ ต้องอยู่ในระบบปิด และมวลของระบบคงที่ 2.สมดุลของการละลาย สารละลายต้องอิ่มตัว 3.สมดุลของปฏิกิริยาเคมี เป็นปฏิกิริยาผันกลับได้ ต้องพบสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ทุกชนิดในระบบ สมบัติของระบบคงที่ FLAS: Chemical Equilibrium

สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium) rf และ rb ขึ้นกับสมบัติเฉพาะตัวและความเข้มข้นของสารตั้งต้นของปฏิกิริยานั้นๆ เมื่ออัตราเดินหน้าและย้อนกลับ เท่ากัน (rf=rb) ระบบจะอยู่ในสมดุล ที่สมดุล ความเข้มข้นของสารทุกตัวในปฏิกิริยาจะคงที่ k k’ A B rf = k[A] rb= k’[B] = Equilibrium FLAS: Chemical Equilibrium