ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
เลขยกกำลัง.
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
Introductory to Numerical Analysis การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
Counting.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
Power Series Fundamentals of AMCS.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
อนุกรมกำลัง (power series)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
หน่วยที่ 15.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การคิดและการตัดสินใจ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การแจกแจงปกติ.
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การคูณและการหารเอกนาม
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)

ข้อสังเกต 1. จำนวนพจน์ที่ได้จากการกระจาย เท่ากับ n+1 พจน์ 2. เลขชี้กำลังของตัวแปร a ในแต่พจน์ จะเริ่มจาก n แล้วลดลงทีละ 1 จนถึง 0

ข้อสังเกต(ต่อ) 3. เลขชี้กำลังของตัวแปร b ในแต่พจน์ จะเริ่มจาก 0 แล้วเพิ่มขึ้นทีละ 1 จนถึง n 4. ผลบวกของเลขชี้กำลังในแต่ละพจน์ ของตัวแปร a และ b จะเท่ากับ n เสมอ

ข้อสังเกต(ต่อ) 5. จำนวน เรียกว่า สัมประสิทธิ์ทวินาม 6. ผลบวกของสัมประสิทธิ์ทวินามของพจน์ทุกพจน์ เท่ากับ

7. พจน์ทั่วไปของการกระจาย คือ 8. พจน์กลางของการกระจาย - ถ้า n เป็นเลขคู่ พจน์กลาง คือ - ถ้า n เป็นเลขคี่ พจน์กลาง คือ

9. ผลบวกของ ส.ป.ส. ของพจน์ทุกพจน์ของการกระจาย มีค่าเท่ากับ 10. ผลบวกของ ส.ป.ส. ของพจน์ทุกพจน์ของการกระจาย เท่ากับ

Ex.1 จงกระจาย วิธีทำ จาก ทบ.ทวินาม จะได้

ดังนั้น ผลบวกของ ส.ป.ส. ของทุกพจน์เท่ากับ 1 + 5 + 10 + 10 + 5 + 1 = 32 = 25

Ex.2 จงกระจาย วิธีทำ จาก ทบ.ทวินาม จะได้

Ex.3 จงกระจาย วิธีทำ จาก ทบ.ทวินาม จะได้

ดังนั้น ผลบวกของ ส.ป.ส. ของทุกพจน์เท่ากับ 1 – 5 + 10 - 10 + 5 - 1 = 0 = (1-1)5

Ex.4 จงกระจาย วิธีทำ จาก ทบ.ทวินาม จะได้

ลองคิดเล่นๆ จงหาพจน์ที่ 4 ของการกระจาย

Ex.4 จงหาพจน์ที่ 5 จากการกระจาย วิธีทำ จาก

Ex.5 จงหาพจน์ที่ 9 จากการกระจาย วิธีทำ จาก

Ex.6 พจน์ที่มีตัวแปร x8 ของการกระจาย วิธีทำ จาก

ดังนั้นพจน์ที่มีตัวแปร x8 คือพจน์ที่ 3

Ex.7 พจน์ที่ไม่มีตัวแปร x ของการกระจาย วิธีทำ จาก

ดังนั้นพจน์ที่ไม่มีตัวแปร x คือพจน์ที่ 7

แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์ 1. พจน์ที่มีตัวแปร x9 ของการกระจาย 2. พจน์ที่มีตัวแปร x8 ของการกระจาย

แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์(ต่อ) 3. พจน์ที่ไม่มีตัวแปร x ของการกระจาย 4. พจน์ที่ไม่มีตัวแปร x ของการกระจาย

แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์(ต่อ) 5. พจน์ที่มีตัวแปร x3 ของการกระจาย 6. พจน์ที่ไม่มีตัวแปร x ของการกระจาย

แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์(ต่อ) 7. พจน์ที่มีตัวแปร x8 ของการกระจาย 8. พจน์ที่ไม่มีตัวแปร x ของการกระจาย

แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์(ต่อ) 9. จงหาสัมประสิทธิ์ของ a10 b3 จากการ กระจาย 10. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x16 จากการ กระจาย

แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์(ต่อ) 11. จงหาสัมประสิทธิ์ทวินามที่มากที่สุด ของการกระจาย 12. จงหาสัมประสิทธิ์ของพจน์กลาง ของการกระจาย

แบบฝึกหัดระคน 1. จงกระจาย 2. จากการกระจาย มีกี่พจน์ที่เป็นจำนวนเต็มและเป็นพจน์ใดบ้าง และแต่ละพจน์มีค่าเท่าใด (ยาก)

แบบฝึกหัดระคน(ต่อ) 3. จงหาค่าโดยประมาณของ (0.98)4 4. จงหาค่าโดยประมาณของ (1.01)5 5. จงหาค่าโดยประมาณของ (1.02)10 (ตอบทศนิยม 4 ตำแหน่ง)

แบบฝึกหัดระคน(ต่อ) 6. จงหาสัมประสิทธิ์ทวินามที่มากที่สุด ของการกระจาย 7. จงหาผลบวกของ สปส. ของทุกพจน์ จากการกระจาย

แบบฝึกหัดระคน(ต่อ) 8. สัมประสิทธิ์ของพจน์ a4b3 ของการกระจาย 9. พจน์ที่ไม่มี x ของการกระจาย

ตั้งใจเรียนนะครับ บทต่อไปเรื่อง ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น แบบฝึกหัดระคน(ต่อ) 10. พจน์กลางของการกระจาย ตั้งใจเรียนนะครับ บทต่อไปเรื่อง ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น