การเคลื่อนที่เป็นวงกลม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

การเคลื่อนที่.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
ความเท่ากันทุกประการ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Introduction to Statics
ความหมายและชนิดของคลื่น
คลื่นผิวน้ำ.
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
สวัสดี...ครับ.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่เป็นวงกลม อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์ watcharanon_j@hotmail.com

การเคลื่อนที่เปนวงกลมแบบสม่ำเสมอ เนื่องจากเสนรอบวงของวงกลมรัศมี r ความยาวเทากับ 2πr ซึ่งสามารถเทียบเปนมุมในหนวยเรเดียนไดเทากับ 2π เรเดียน แตมุมที่รองรับจุดศูนยกลางเทากับ 3600 ดังนั้นหนวยเรเดียนจึงสามารถเทียบเปนหนวยองศาไดดวยความสัมพันธ 2π radian = 3600 หรือ π radian = 1800 การวัดระยะทางในการเคลื่อนที่แบบวงกลม มักจะวัดจากมุมที่วัตถุกวาดไป หนวยมุมที่สะดวกตอการคํานวณคือหนวยเรเดียน (radian) ซึ่งนิยมให 1 เรเดียนเปนมุมที่รองรับดวยสวนโคงที่ยาวเทากับรัศมีของวงกลม

การเคลื่อนที่แบบวงกลม คือการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีแนวการเคลื่อนที่เป็นระยะทางครบรอบ โดยการเคลื่อนที่แบบนี้จะมีทั้งปริมาณเชิงมุมและปริมาณเชิงเส้น ปริมาณเชิงเส้น ได้แก่ การกระจัดเชิงเส้น ( s, r ), ความเร็วเชิงเส้น ( v ) และความเร่งเชิงเส้น ( a ) ปริมาณเชิงมุม ได้แก่ การกระจัดเชิงมุม (  ) ความเร็วเชิงมุม(  ) และความเร่งเชิงมุม (  )

การเคลื่อนที่เป็นวงกลมแบบสม่ำเสมอ พิจารณาวัตถุซึ่งเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี R รอบจุดศูนยกลาง O ดังรูป ถาวัตถุเคลื่อนที่จากจุด P ไปยังจุด O ในชวงเวลา ∆t θ มีชื่อเรียกเฉพาะวา ตําแหนงเชิงมุม (Angular position) θ มีเครื่องหมาย เปนบวกเมื่อวัดทวนเข็มนาฬิกา

ความเร็วเชิงมุม ความเร็วเชิงมุมเฉลี่ย จะเปน วัตถุกวาดไปไดมุม ∆θ เราจะนิยามอัตราเร็วเชิงมุมของการเคลื่อนที่เปนมุมที่วัตถุกวาดไปไดตอหนวยเวลา ซึ่งแทนดวยสัญลักษณ ω ดังนั้น ความเร็วเชิงมุมเฉลี่ย จะเปน ความเร็วเชิงมุมชั่วขณะ เปน มีหนวยเปนเรเดียนตอวินาที ( rad/s )

ความเรงเชิงมุม ถาความเร็วเชิงมุมไมคงที่ แสดงวาอนุภาคมีความเรงเชิงมุม ให ω1และ ω2 เปนความเร็วเชิงมุมชั่วขณะที่เวลา t1 และ t2 ความเรงเชิงมุมเฉลี่ย จะเปน ความเรงเชิงมุมชั่วขณะ จะเปน หนวยของความเรงเชิงมุม คือ เรเดียนตอวินาที2

การหมุนดวยความเรงเชิงมุมคงที่ เราสามารถหาความสัมพันธระหวางระยะกระจัดเชิงมุม อัตราเร็วเชิงมุม และความเรงเชิงมุมได ในกรณีที่ความเรงเชิงมุมคงที่ โดยใชวิธีเดียวกันกับการหาความสัมพันธระหวางระยะกระจัดเชิงเสน ความเร็วเชิงเสน และความเรงเชิงเสนในกรณีที่ความเรง ω = ω0 + αt θ = ω0t + (1/2)αt2 ω2 = ω02 + 2αθ

ความสัมพันธระหวางการเคลื่อนที่เชิงเสนและการเคลื่อนที่เชิงมุมของอนุภาคที่เคลื่อนที่เปนวงกลม จุด P หางจากจุดหมุนเปนระยะ r เคลื่อนที่เปนวงกลม โดยมีตําแหนงกระจัดเชิงมุมเริ่มตนเทากับ θ เพิ่มขึ้นเปน Δθ ในชวงเวลา Δt อนุภาคที่จุด P จะเคลื่อนที่เปนสวนโคงของวงกลม Δs = rΔθ

aT = rα a c = v2 = ω2r r aC คือ ความเรงในแนวตั้งฉาก หรือรัศมี แทนดวย อัตราเร็วเฉลี่ย ของอนุภาค หาไดจาก v = rω ความเร็ว v สัมผัสกับเสนทางการเคลื่อนที่ aT คือ ความเรงในแนวเสนสัมผัสกับเสนทางการเคลื่อนที่ aT = rα aC คือ ความเรงในแนวตั้งฉาก หรือรัศมี แทนดวย a c = v2 = ω2r r