ประวัติความเป็นมาภาษาซี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Introduction to C Programming
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษา C++
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Department of Computer Business
Control Statement for while do-while.
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Type Judgments และ Type Rules. คำศัพท์ที่จะใช้ Type judgment: การตัดสินความถูกต้องของ type สำหรับ expression หรือ statement ใน โปรแกรม – เป็นบทสรุป (conclusion)
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
Lecture no. 3: Review and Exercises
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
C language W.lilakiatsakun.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Overview of C Programming
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติความเป็นมาภาษาซี ภาษาซี ( C programming language) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงโครงสร้างระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาขึ้นในช่วงทศวรรษ 1970 โดย เดนนิส ริทชี่( Dennis Ritchie) ขณะทำงานอยู่ที่เบลล์เทเลโฟน เลบอราทอรี่ สำหรับใช้ในระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ต่อมาภายหลังได้ถูกนำไปใช้กับระบบปฏิบัติการอื่น ๆ และกลายเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ใช้กันแพร่หลายมากที่สุด ภาษาซีมีจุดเด่นที่ประสิทธิภาพในการทำงาน เนื่องจากมีความสามารถใกล้เคียงกับภาษาระดับต่ำ แต่เขียนแบบภาษาระดับสูง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนด้วยภาษาซีจึงทำงานได้รวดเร็ว ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมที่นิยมใช้กันมากสำหรับพัฒนาระบบปฏิบัติการ , ซอฟต์แวร์ระบบ , ควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ และเป็นภาษาที่ใช้กันทั่วไปในหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์

เดนนิส ริทชี่ ( Dennis Ritchie)

โครงสร้างโปรแกรม 1. พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ ( Preprocessor directives) การเขียนโปรแกรมแต่ละภาษานั้น โครงสร้างของแต่ละโปรแกรมจะแตกต่างกันไป แต่ลักษณะโครงสร้างของภาษาซีนั้น สามารถแบ่งได้ 5 ส่วนดังนี้ 1. พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ ( Preprocessor directives) 2. ส่วนการกำหนดค่า (Global Declarations) 3. ส่วนฟังก์ชั่นหลัก (The Main Functions ) 4. การสร้างฟังก์ชั่นและการใช้ฟังก์ชั่น (Uses – defined function) 5. ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program comments)

พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ ( Preprocessor directives) ส่วนนี้ ทุกโปรแกรมจะต้องมี ใช้สำหรับเรียกไฟล์ที่โปรแกรมต้องการในการทำงาน และ กำหนดค่าต่างๆ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย #( ไดเร็กทีฟ ) และตามด้วยชื่อโปรแกรมหรือชื่อตัวแปรที่ต้องการกำหนดค่า ส่วนนี้ เราอาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า (Header Part) สำหรับไดเร็กทีฟที่นิยมใช้กัน ได้แก่ #include เป็นการแจ้งให้คอมไพเลอร์อ่านไฟล์อื่นเข้ามาคอมไพล์ด้วย รูปแบบ #include แล้วตามด้วยชื่อไฟล์ เช่น #include<stdio.h> #include<conio.h> #include<math.h>

ส่วนการกำหนดค่า (Global Declarations) ส่วนนี้จะใช้ประกาศตัวแปรหรือฟังก์ชั่นที่ต้องใช้ในโปรแกรม โดยทุกส่วนของโปรแกรมสามารถเรียกใช้งานจากส่วนนี้ได้ ในบางโปรแกรมอาจไม่มีก็ได้ #include<stdio.h> float grade; int main()

ส่วนฟังก์ชั่นหลัก(Main Function) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมี ซึ่งประกอบไปด้วยประโยคคำสั่งต่างๆ ที่จะให้โปรแกรม ทำงาน โดยนำคำสั่งต่างๆมาเรียงต่อกัน แต่ละประโยคจบด้วยเครื่องหมาย ; (เซมิโคลอน) โดยโปรแกรมหลักนี้ จะเริ่มด้วย int main() ตามด้วยเครื่องหมาย { และจบด้วย } int main() { printf("Good Afternoon"); getch(); }

ส่วนกำหนดฟังก์ชั่นขึ้นใช้เอง (Uses-defined function) เป็นการเขียนคำสั่งและฟังก์ชั่นต่างๆ ขึ้น เพื่อใช้ในโปรแกรม ต้องอยู่ภายใต้เครื่องหมาย { } และต้องสร้างฟังก์ชั่นหรือคำใหม่ให้ทำงานตามที่เราต้องการ เช่น #include<stdio.h> int main() { function(); /*เรียกใช้ฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้น */ } function() /*สร้างฟังก์ชั่นใหม่ โดยให้ชื่อว่า function*/ return; /*คืนค่าที่เกิดจากการทำฟังก์ชั่น*/

ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program Comment) ส่วนนี้ใช้เขียนคอมเมนต์โปรแกรม เพื่ออธิบายการทำงานต่างๆ ทำให้ผู้ที่ศึกษาโปรแกรมสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น เมื่อคอมไพล์โปรแกรมในส่วนนี้จะถูกข้ามไป { function(); /*เรียกใช้ฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้น */ } function() /*สร้างฟังก์ชั่นใหม่ โดยให้ชื่อว่า function*/ return; /*คืนค่าที่เกิดจากการทำฟังก์ชั่น*/

โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น #include<library> /* ไฟล์ส่วนหัวโปรแกรม*/   void main() /*ฟังก์ชันหลักของโปรแกรม*/ { /*เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด*/     variable declaration; /*การประกาศค่าตัวแปรที่ใช้ในโปรแกรม*/     program statement; /*ประโยคคำสั่งในโปรแกรม*/ } /*จบการเขียนโปรแกรมด้วยเครื่องหมายปีกกาปิด*/

ตัวอย่างโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีเบื้องต้น include<stdio.h> /*เรียกใช้ฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้น */ void main() { printf(“Triamudomsuksa school of the north”); /*แสดงผลข้อความขึ้นทางหน้าจอ*/ } เวลาโปรแกรมแสดงผลจะแสดงออกมาดังนี้ Triamudomsuksa school of the north