เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
Advertisements

สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ. สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
ข้อควรปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข.
โครงการปัจฉิมนิเทศสมาชิก กบข. และอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข.
เมื่อไหร่... สมาชิกจะได้รับเงิน จาก กบข.. เมื่อไหร่... สมาชิกจะได้รับเงิน จาก กบข.
รู้จัก กบข.. รู้จัก กบข. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เอกชน / ข้าราชการ เอกชน / รัฐวิสาหกิจ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ.
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
สิทธิของข้าราชการทหาร
วันที่ 25 มีนาคม 2556.
1.
รู้จัก กบข..
สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
1.
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
กองทุนประกันสังคมคือ...
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว ของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ (ฉบับที่ 5) พ.ศ
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การประชุมชี้แจง การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
เรียน ท่านสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเชียงราย จำกัด
เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ
The Comptroller General’s Department
8. การใช้เงินสะสม.
บำเหน็จค้ำประกัน ก.บริหารทรัพยากรบุคคล 7 ก.พ
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ปีงบประมาณ 2556 ออกจากราชการ วันที่ 1 ตุลาคม 2555 (รุ่นสุดท้ายตามมาตรการปรับปรุง อัตรากำลังของส่วนราชการ)
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง อัตราเงินสมทบ วิธีการเรียกเก็บเงินสมทบ ค่าจ้างขั้นต่ำและขั้นสูงที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 เมษายน 2555.
ระเบียบสำนักงานประกันสังคมว่าด้วย การเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 26 ตุลาคม.
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ในส่วนของกรมบัญชีกลาง
Separation : Retirement
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
ทุนส่งเสริมการศึกษาบุตรสมาชิก
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
สวัสดิการของผู้ปฏิบัติงาน อ.อ.ป.
โครงการประชุมชี้แจง “เจ้าหน้าที่ส่วนราชการเพื่อเตรียม ความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานตาม ร่าง พ.ร.บ. กลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ.
การประชุมเตรียมความพร้อมการปฏิบัติงาน ในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ วันศุกร์ที่ 5 กันยายน 2557 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
ณ ห้องประชุมตำรวจภูธรจังหวัดลำพูน ระหว่างวันที่ 25 ธันวาคม 2557
ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
การประชุมชี้แจง การปฏิบัติงานเรื่องการกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 พ.ศ.2557 ในวันพุธที่ 3 ธันวาคม 2557.
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเลื่อนขั้นคาจางลูกจางประจําของ
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) ออกใบรับแบบ 1.
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) กรณีเลือก ผู้รับเบี้ยหวัด / ประจำรอบที่ / ใบสรุปประจำรอบ 1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) มติคณะรัฐมนตรี 23 เมษายน 2556 เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) 1. เห็นชอบในหลักการ ร่าง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ (ฉบับที่...) พ.ศ... ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ สำนักงานคลังจังหวัดตรัง

สูตรบำนาญ 50 50 เมื่อข้าราชการออกจากราชการจะได้รับ สูตรบำนาญดั้งเดิมตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญ 2494 เงินเดือน ๆ สุดท้าย X อายุราชการ 50 ไม่เกิน 100% เงินเดือน เมื่อข้าราชการออกจากราชการจะได้รับ บำนาญรายเดือน สูตรดั้งเดิม สูตรบำนาญสมาชิก กบข. เงินเดือน เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย X อายุราชการ 50 ไม่เกิน 70% เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ส่งผลให้บำนาญสูตร กบข. < บำนาญสูตรดั้งเดิม รัฐชดเชยให้ 1. ให้เงินประเดิม 2% + ดอกผล 2. ให้เงินชดเชย 2% + ดอกผล + รัฐจูงใจให้ออม 3. เงินสะสม 3% (ปัจจุบัน 15 %) + ดอกผล 4. ให้เงินสมทบ 3% + ดอกผล เมื่อข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข.ออกจากราชการจะได้รับ 1. บำนาญ รายเดือน สูตร กบข. และ 2. เงินก้อน เงินประเดิม + ดอกผล เงินชดเชย + ดอกผล เงินสะสม + ดอกผล เงินสมทบ + ดอกผล ตามที่รัฐบาลได้จัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญ ขึ้นมาใน ปี พ.ศ. 2539 เพื่อแบ่งเบาภาระบำเหน็จบำนาญที่รัฐต้องตั้งงบประมาณ จำนวนมากจ่ายเป็นจำนวนมากในแต่และปี เพื่อให้มีการกันเงินจำนวนหนึ่งส่งเข้ากองทุนเพื่อสมทบจ่ายบำเหน็จบำนาญ ในขณะเดียวกันก็หาทางลดภาระบำนาญด้วยการปรับสูตรบำนาญให้ได้รับเงินลดลง คือ ปรับเงินเดือนเดือนสุดท้ายเป็นเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย และ cap เงินบำนาญไว้ที่ 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย การทำเช่นนี้ จึงจะทำให้รัฐสามารถบริหารจัดการภาระงบประมาณบำเหน็จบำนาญได้ในระยะยาวอย่างยั่งยืน ในส่วนของผู้รับบำนาญที่จะได้รับเงินบำนาญลดลง รัฐจะดูแลโดยจะชดเชยให้เป็นเงินก้อน ซึ่งจะทำให้ผู้รับบำนาญได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้น เพราะจะได้รับทั้งเงินรายเดือนจากรัฐ และเงินก้อนจาก กบข. เมื่อออกจากราชการ นอกจากนี้ รัฐยังสร้างความมั่นคงให้กับข้าราชการเพิ่มขึ้น ด้วยการส่งเสริมให้สะสมเงินใน กบข. และรัฐจะสบทบให้ในสัดส่วนเดียวกัน ปัญหาในเรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะ เงินที่รัฐชดเชยให้เป็นเงินก้อนไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้อย่างมีนัยสำคัญ และไม่พอดีกับบำนาญที่ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับผู้รับบำนาญที่ไม่เข้า กบข. ทั้งนี้เนื่องจากข้อสมมุติฐานที่ใช้ในการคำนวณ เงินก้อน 8% 9% ลดต่ำลงไปจากที่เคยคาดการณ์ไว้ ในปี 39 โดยเฉพาะผลตอบแทนจาก กบข.ๆ ทำได้เฉลี่ยเพียง 7.05% เท่านั้น ปัญหาดังกล่าวจึงนำมาสู่ข้อเรียกร้องของมวลสมาชิกที่สมัครใจเข้า กบข. ผ่านองค์กรต่างๆมากมายประเด็นข้อเรียกร้อง ยึดโยงกับเงินที่พวกเขาจะได้รับ คือ เงินรายเดือนหรือเงินบำนาญ และเงินก้อนที่ได้รับจาก กบข. โดยมีข้อเรียกร้องสรุปได้ดังนี้ 1.ในส่วนของเงินรายเดือน ขอแก้ไขสูตรบำนาญ กบข. ให้ได้รับบำนาญเพิ่มขึ้น โดยเสนอสูตรมาต่างๆนาๆ ซึ่งทั้งหมดมุ่งไปที่การปรับเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย เป็น 36 24 หรือขอใช้เงินเดือนๆสุดท้าย และปรับ cap เงินบำนาญจาก 70% เป็น 80 % 85% 90% 95% และ 100% 2.ขอนำเวลาทวีคูณไปรวมคำนวณกับสูตรบำนาญ กบข.ด้วย 3.ในส่วนของเงินก้อน เมื่อไม่ได้รับตามจำนวนที่คาดหวังไว้ เนื่องจากข้อเท็จจริงไม่เป็นไปตามข้อสมมุติฐาน จึงขอเพิ่ม 4.ไม่พอใจการบริหารงานของ กบข. โดยเฉพาะอย่างยิ่งปี 51 ที่มีผลตอบแทนติดลบ จึงขอให้ยุบ กบข. 5.ขอลาออกจาก กบข.

Undo ให้กลับไปเลือกใหม่ “เมื่อเขาคิดว่า เขาเข้า กบข.เพราะเขาเข้าใจผิด หลงผิด ก็ควรให้โอกาสเขาคิดใหม่ ตัดสินใจใหม่” Undo ให้กลับไปเลือกใหม่

Undo สูตรบำนาญ 50 50 เมื่อข้าราชการออกจากราชการจะได้รับ สูตรบำนาญดั้งเดิมตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญ 2494 เงินเดือน ๆ สุดท้าย X อายุราชการ 50 ไม่เกิน 100% เงินเดือน เมื่อข้าราชการออกจากราชการจะได้รับ บำนาญรายเดือน สูตรดั้งเดิม สูตรบำนาญสมาชิก กบข. เงินเดือน เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย X อายุราชการ 50 ไม่เกิน 70% เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ส่งผลให้บำนาญสูตร กบข. < บำนาญสูตรดั้งเดิม รัฐชดเชยให้ 1. ให้เงินประเดิม 2% + ดอกผล 2. ให้เงินชดเชย 2% + ดอกผล + รัฐจูงใจให้ออม 3. เงินสะสม 3% (ปัจจุบัน 15 %) + ดอกผล 4. ให้เงินสมทบ 3% + ดอกผล เมื่อข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข.ออกจากราชการจะได้รับ 1. บำนาญ รายเดือน สูตร กบข. และ 2. เงินก้อน เงินประเดิม + ดอกผล เงินชดเชย + ดอกผล เงินสะสม + ดอกผล เงินสมทบ + ดอกผล ให้สิทธิเลือกไปรับบำนาญตามสูตรเดิม โดยลาออกจากการเป็นสมาชิก กบข.

ข้าราชการ (ที่เป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ ) 1 ให้ใช้สิทธิเลือก ตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมาย มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 2 สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับตั้งแต่วันถัดจาก วันที่ 30 กันยายน 2557 คือวันที่ 1 ตุลาคม 2557 3 ได้รับเงินสะสม และดอกผล คืนจาก กบข. ตั้งแต่วันที่หมดสมาชิกภาพ กบข. (1 ตุลาคม 2557) 4 ไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว แต่จะนำไปใส่ใน บัญชีเงินสำรอง เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ ภาระบำนาญต่อไป ร่าง พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญมีสาระสำคัญที่สรุปได้ดังนี้ 5 เมื่อออกจากราชการไม่ว่ากรณีใด และมีสิทธิรับ บำนาญ จะได้รับบำนาญสูตรเดิมจนถึงวันที่เสียชีวิต

30 กันยายน 2557 เนื่องจากจะออกจากราชการ 6 ข้าราชการที่มีเวลาราชการเหลืออยู่ไม่ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 เนื่องจากจะออกจากราชการ ไม่ว่ากรณีใด (เกษียณอายุราชการ 30 กันยายน 2556 หรือขอลาออก หรือถูกสั่งให้ออก) ให้ใช้ สิทธิเลือกได้ไม่เกินวันที่ที่จะออกจากราชการนั้น แล้วแต่กรณี (วันที่ 30 กันยายน 2556 หรือวันที่ ขอลาออก หรือวันที่ถูกสั่งให้ออก) 7 หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2557 หรือภายในวันที่ที่ จะออกจากราชการไม่ว่ากรณีใด(วันที่เกษียณอายุ ราชการ 30 กันยายน 2556 หรือวันที่ขอ ลาออก หรือวันที่ถูกสั่งให้ออก) แล้วแต่กรณี ให้ถือว่าการแสดงความประสงค์นั้นไม่มีผลใช้บังคับ

ผู้รับบำนาญ (ยังมีชีวิตอยู่ และเป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ) 1 ให้ใช้สิทธิเลือก ตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมาย มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 2 ไม่ต้องคืนเงินสะสมและผลประโยชน์ที่ได้รับไปแล้ว 3 ต้องคืนเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และ ดอกผลของเงินดังกล่าวให้รัฐ โดยวิธีหักกลบลบกัน 4 ได้รับบำนาญสูตรเดิมย้อนหลังตั้งแต่วันที่ออกจาก ราชการถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 โดยวิธีหักกลบลบกัน

5.2 หากมีส่วนต่างที่รัฐต้องจ่ายคืน รัฐจะจ่ายคืนให้ 5 เมื่อหักกลบลบกันแล้ว 5.1 หากมีส่วนต่างต้องชำระคืนให้รัฐ ให้ชำระคืน ภายใน 30 มิถุนายน 2557 5.2 หากมีส่วนต่างที่รัฐต้องจ่ายคืน รัฐจะจ่ายคืนให้ ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2557 เป็นต้นไป ให้ผู้รับบำนาญตาม 5.1 คืนเงินให้รัฐผ่าน ส่วนราชการผู้เบิก เพื่อนำส่งต่อให้กรมบัญชีกลาง เงินที่ได้รับคืนไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน และให้รัฐโดยกรมบัญชีกลางสามารถนำเงินที่ได้รับคืน จากผู้รับบำนาญตาม 5.1 ไปจ่ายคืนให้ผู้รับบำนาญ ตาม 5.2 ได้ ส่วนที่เหลือให้นำส่งเข้าบัญชีเงินสำรอง

6 หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ให้ถือว่าการแสดง ความประสงค์นั้น ไม่มีผลใช้บังคับ และหากได้คืน เงินตาม 5.1 ให้รัฐแล้ว รัฐจะคืนเงินดังกล่าวให้กับ ทายาทต่อไป 7 จะได้รับบำนาญสูตรเดิมตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2557 เป็นต้นไปจนถึงวันที่เสียชีวิต

เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) มติคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) 23 เมษายน 2556 2. เห็นชอบให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณเข้าบัญชี สำรองเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับภาระการจ่ายบำนาญ 3. ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินสะสมและผลประโยชน์ รวมทั้ง ส่วนเพิ่มบำนาญ ที่ได้รับเพิ่มจากการได้ลาออกจากสมาชิก กบข. นอกจากนี้มติ ครม .ยังเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ในเรื่อง สำนักงานคลังจังหวัดตรัง