โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
นำเสนอ เรื่อง x.25.
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
บทที่11 Transmission Control Protocol(TCP) Connection
Chapter 2 Switching.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
TCP/IP Protocols IP Addressing
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
ระบบอินเทอร์เนตในโรงเรียนที่ผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
ARP (Address Resolution Protocol)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ATM (Asynchronous Transfer Mode)
Network Layer Protocol Routing Protocol
IP TABLES เรียนรู้และทำความเข้าใจการทำงานของ iptables และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ Firewall ได้
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
Network Layer Protocal:
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
OSI MODEL.
AUTONOMOUS SYSTEMS (AS)
ทบทวนความเข้าใจ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
TCP/IP.
What’s P2P.
พื้นฐานระบบเครือข่าย และการสือสารข้อมูล
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
บทที่ ๖จาร อินเตอร์เน็ตคืออะไร เมื่อพิจารณาแล้วอาจจัดแบ่งเป็น ๒ มุมมอง - มุมมองด้านองค์ประกอบ - มุมมองด้านบริการ มุมมองด้านองค์ประกอบ อินเตอร์เน็ต หมายถึง.
อินเทอร์เน็ตInternet
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
05/04/60 Networking Devices 4 Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved.
Chapter 4 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Basic of Routing พื้นฐานการหาเส้นทางข้ามเครือข่าย 9 05/04/60
InterVLAN Route-on-Stick 7 05/04/60
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
บทที่ ๖ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เนต ( Computer Networks and the Internet ) ๑. ๑ อินเตอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติ ที่มีสาย ตรงเชื่อมต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงาน.
IP ADDRESS.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ISP ในประเทศไทย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
© 2007 Cisco Systems, Inc. All rights reserved.Cisco Public 1 Client/Server Architecture หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญระบบโครงข่ายการศึกษาขั้น พื้นฐาน (OBEC Network)
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เครือข่ายระยะไกล Wide Area.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Network Security.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบจำลอง OSI Model.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.
บทที่ 3 โพรโตคอล ทีซีพีและไอพี TCP / IP
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์ Network Layer โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์

Network Layer ทำหน้าที่จัดเส้นทางของข้อมูล ที่อาจต้องเดินทางผ่านระบบเครือข่ายในหลาย Segment และเป็นผู้ตัดสินใจว่าเส้นทางใดควรเป็นเส้นทางที่จะส่งข้อมูล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพเครือข่าย ความสำคัญของการบริการ และปัจจัยอื่น ๆ Network Layer จะรับผิดชอบในส่วนของการกำหนด Address และการส่งข้อมูลแบบ “จากต้นถึงปลายทาง”(End-to-End)

Network layer หน้าที่กำหนดเส้นทางและสร้างความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ตัว ให้เชื่อมต่อถึงกันภายในเครือข่าย คือ router protocol ที่ใช้ในการเลือกเส้นทางและสนับสนุนการทำงานใน layer นี้ router จะทำงานและทำหน้าที่ให้บริการเกี่ยวกับการเลือกเส้นทางให้กับเครือข่าย

Network Layer(Cont.) Network Layer จะเลือกเส้นทาง ในการสื่อสารข้อมูลที่สั้นที่สุดและใช้เวลาในการสื่อสารน้อยที่สุด

การทำงานของ Router Router เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนำมาใช้เพื่อการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย (network) Router หน้าที่หลักของคือ การอ้างอิงไอพีแอดเดรสระหว่างเครื่องลูกข่ายที่อยู่กันคนละเครือข่าย รวมที่ทั้งการเลือกและจัดเส้นทางที่ดีที่สุด เพื่อนำข้อมูลข่าวสาร ในรูปแบบของแพ็กเกจจากเครื่องลูกข่ายต้นทางบนเครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ไปยังเครื่องลูกข่ายที่อยู่กันคนละเครือข่าย

การจัดวางตำแหน่งของ Router การจัดวาง Router ที่เชื่อมต่อกันบน WAN คือการไหลของข้อมูลข่าวสารแบบ 80/20 % 80% คือ ปริมาณข้อมูลข่าวสารที่จะสื่อสารกันได้ภายในเครือข่ายเดียวกัน 20% คือ ปริมาณของข้อมูลข่าวสารที่จะข้ามไปมาระหว่างเครือข่ายได้

Routing Protocol คือโพรโทคอลที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน routing table ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เช่น Router เพื่อให้อุปกรณ์เหล่านี้สามารถส่งข้อมูล (IP packet) ไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางได้อย่างถูกต้อง โดยที่ผู้ดูแลเครือข่ายไม่ต้องแก้ไขข้อมูล routing table ของอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดเวลา เรียกว่าการทำงานของ Routing Protocol ทำให้เกิดการใช้งาน dynamic routing ต่อระบบเครือข่าย

Routing Protocol : โปรโตคอลเลือกเส้นทาง หัวใจหลักของ Router คือการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด โปรโตคอลเลือกเส้นทาง ในการคำนวณและจัดหาเส้นทาง ที่ดีที่สุด ที่เร็วที่สุด ไปสู่ปลายทางในรูปแบบของ Software

ตัวอย่าง Routing Protocol RIP (Routing Information Protocol) OSPF (Open Shortest Path First) IGRP (Interior Gateway Routing Protocol) (Cisco Proprietary) EIGRP (Enhanced Interior Gateway Routing Protocol) (Cisco Proprietary) BGP (Border Gateway Protocol)

Packet ที่ใช้ใน Network layer มี 2 ประเภท Data Packet - ใช้ส่งผ่านข้อมูลของผู้ใช้ภายในเครือข่าย - Protocol ที่ใช้ในการเลือกเส้นทาง ได้แก่ IP และIPX Router Update Packet - ใช้ปรับปรุงเส้นทางการเชื่อมต่อของเครือข่าย - Protocol ที่ใช้ ได้แก่ RIP, EIGRP, OSPF - สร้างและบำรุงรักษาตารางเส้นทางใน router

Routing a Packet 1. router ได้รับ  packet และหา IP address ปลายทาง 2. ถ้า packet ไม่ได้ถูกกำหนดเส้นทาง router จะหาที่อยู่ปลายทางให้จากเส้นทางที่มีอยู่ในตาราง 3. เมื่อพบจุดหมายปลายทาง packet จะถูกส่งไปที่เป้าหมายนั้น 4. ที่ปลายทาง packet ก็คือ frame ที่ถูกส่งออกมาในเครือข่าย

โปรโตคอลเลือกเส้นทาง แบ่งออกเป็นระดับชั้น (Class) ใหญ่ ได้ 2 แบบ ดังนี้ ระดับขั้น Interior Domain - Link State ซึ่งอาศัยสถานะ การเชื่อมต่อเป็นตัวกำหนด - Distance Vector ซึ่งเป็น Routing Protocol ที่อาศัยหลักเกณฑ์ในเรื่องระยะทางเป็นตัวกำหนด ระดับขั้น Exterior - เป็น โปรโตคอลเลือกเส้นทาง ที่นำมาใช้เพื่อเชื่อมกลุ่มของ Router จำนวนมากหลายๆกลุ่มเข้าด้วยกัน ได้แก่ BGP

Distance Vector เราติ้งโปรโตคอลแบบ Distance Vector (เช่น RIP, IGRP) นั้น จะใช้ปัจจัยที่ว่า “คำนึงถึงระยะทาง” เป็นตัวกำหนดเส้นทางที่เราเตอร์เลือกที่จะส่งแพคเกตของข้อมูลออกไปในเน็ตเวิร์ก โปรโตคอลแบบ Distance Vector จะพิจารณานั้น มีดังต่อไปนี้ เราเตอร์จะเลือกเส้นทางที่ใช้เพื่อการเดินทางไปสู่ที่สั้นที่สุด โดยพิจารณาจาก Next Hop เราเตอร์ ว่า จำนวนเราเตอร์ที่จะไปถึงปลายทางนั้น มีอยู่กี่ตัว