บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
Advertisements

บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
ENCODER.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
External HARDDISK.
ลำโพง (Loud Speaker).
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
การต่อวงจรบนแผ่นโพโตบอร์ด
การประหยัดพลังงานในระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ลิฟต์.
ไดร์เป่าผม.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และอุปกรณ์สำนักงาน.
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Stepper motor.
ข้อดี ราคาถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย จำกัด ความเร็ว ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ สายคู่บิดเกลียว.
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Ch 12 AC Steady-State Power
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้า และพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้า และพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ กำลังไฟฟ้าจริง (P) กำลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ (Q) กำลังไฟฟ้าปรากฏ (S) kVA = ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า = กำลังไฟฟ้าจริง กำลังไฟฟ้าปรากฏ cos kW kVA kVA cos kVAr kVA sin หรือ kW tan ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ตัวอย่างการคำนวณ จงหาค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (PF) ถ้าพลังไฟฟ้าจริงที่วัดได้คือ 1,200 kW และค่าพลังไฟฟ้าปรากฏมีค่าเท่ากับ 1,540 kVA P = 1200 kW (Q) S = 1540 kVA cos = ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 จงหาค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (PF) ถ้าพลังไฟฟ้าจริงที่วัดได้คือ 1,200 kW และค่าพลังไฟฟ้าต้านกับมีค่าเท่ากับ 1,540 kVAr P = 1200 kW Q = 1540 kVA S = ? kVA = ดังนั้น cos = ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปรับปรุง ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ประโยชน์ที่ได้รับจากการปรับปรุง ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า 1. ประหยัดค่าไฟฟ้า 2. ลดค่ากำลังสูญเสียในสาย 3. ระบบไฟฟ้าสามารถจ่ายโหลดเพิ่มมากขึ้น 4. ลดค่ากำลังสูญเสียในหม้อแปลง 5. ระดับแรงดันไฟฟ้าดีขึ้น ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

วิธีปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 วิธีปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า มอเตอร์ หม้อแปลง คาปาซิเตอร์ กำลังไฟฟ้าจริง (kW) กำลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ (kVAr) kVA 2 kVA 1 กำลังไฟฟ้าปรากฏ (kVA) 1 2 แหล่งกำเนิดกำลังไฟฟ้ารีแอกตีฟช่วยจ่ายให้ ได้แก่ ซิงโครนัสมอเตอร์และคาปาซิเตอร์ ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

การติดตั้งคาปาซิเตอร์ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 การติดตั้งคาปาซิเตอร์ แรงดันต่ำ สตาร์ตเตอร์ M C โหลดแรงดันต่ำ 1. การติดตั้งที่โหลดแต่ละชุด 2. การติดตั้งที่กลุ่มของโหลด 3. การติดตั้งแบบศูนย์กลาง 4. การติดตั้งแบบผสม ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ตารางแสดงคุณลักษณะข้อดีและข้อเสียในการติดตั้งคาปาซิเตอร์แต่ละแบบ การติดตั้ง คุณลักษณะ ข้อดี ข้อเสีย ที่โหลดแต่ละชุด เป็นการเลือกขนาดคาปาซิเตอร์ต่อเข้ากับโหลดแต่ละตัว และจะสวิตซ์พร้อมกับเดินมอเตอร์ - สามารถแก้ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าที่จุดโหลด - ลดการสูญเสียและแรงดันตกในสายวงจรย่อย - ประหยัดการใช้อุปกรณ์สวิตซ์ขนาดใหญ่ - ใช้คาพาซิเตอร์ตัวเล็กหลายตัว แพงกว่าตัวใหญ่เพียงตัวเดียว - ค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ของคาปาซิเตอร์ต่ำ สำหรับมอเตอร์ที่ไม่ได้ใช้งานบ่อย ๆ ที่กลุ่มของโหลด มอเตอร์หลายตัวต่อเข้ากับ คาปาซิเตอร์ และคาปาซิเตอร์จะถูกใช้งานสอดคล้องกับขนาดโหลดที่ใช้ - ลดราคาคาปาซิเตอร์ - ลดการสูญเสียและแรงดันตกที่สายป้อนหรือสายจ่าย - โหลดที่สายป้อนหรือสายจ่ายอาจไม่แน่นอน แบบศูนย์กลาง โดยการสร้างกำลังรีแอกตีฟที่จุดใดจุดหนึ่ง จะต่อคาปาซิเตอร์เข้ากับระบบเมื่อทำงานและปลดออกเมื่องานสิ้นสุด ค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ของคาปาซิเตอร์ที่ดีที่สุด - ใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติ - ปรับปรุงระดับแรงดันทั่ว ๆ ไปดีขึ้น - ดูแลรักษาได้ง่าย - โหลดที่สายเมนและสายป้อนอาจไม่แน่นอน แบบผสม โหลดขนาดใหญ่ติดตั้งที่โหลดแต่ละชุด ส่วนโหลดอื่น ๆ จะติดตั้งเป็นกลุ่มหรือศูนย์กลาง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

ข้อควรระวังในการใช้คาพาซิเตอร์กับมอเตอร์เหนี่ยวนำ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ข้อควรระวังในการใช้คาพาซิเตอร์กับมอเตอร์เหนี่ยวนำ ค. ไม่ปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้ากับมอเตอร์ที่ต้องการหมุนกลับทิศทาง ง. ไม่ปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้ากับรอกปั้นจั่นไฟฟ้าและมอเตอร์ลิฟต์ จ. ต้องไม่เดินมอเตอร์ใหม่อีกครั้งขณะที่มอเตอร์ยังไม่หยุดหมุน ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

ข้อควรระวังในการใช้คาปาซิเตอร์ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ข้อควรระวังในการใช้คาปาซิเตอร์ เมื่อติดตั้งคาปาซิเตอร์เข้าไปที่จุดใดแล้ว แรงดันไฟฟ้าที่ จุดนั้นจะมีค่าสูงขึ้นกว่าเดิม จุดที่จะติดตั้งคาปาซิเตอร์ควรจะมีการระบายความร้อนดีพอสมควร การติดตั้งคาปาซิเตอร์เข้ากับมอเตอร์โดยตรง ต้องเลือก คาปาซิเตอร์ให้มีขนาดเหมาะสม และ ต้องดำเนินการติดตั้ง ให้ถูกวิธี ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

ข้อควรระวังในการใช้คาปาซิเตอร์ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ข้อควรระวังในการใช้คาปาซิเตอร์ ถ้าต้องการติดตั้งคาปาซิเตอร์แบงค์ควรใช้แบบควบคุมอัตโนมัติ อุปกรณ์ไฟฟ้าบางอย่าง เช่น วงจรเรียงกระแสและเตาเผาแบบอาร์กจะสร้างฮาร์มอนิกเข้าไปในระบบ เมื่อต้องการติดตั้ง คาปาซิเตอร์ก็ต้องระวังปัญหาที่อาจจะเกิดจากฮาร์มอนิก เรโซแนนซ์ มิฉะนั้นจะทำให้คาปาซิเตอร์เสียหายทันที ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 END ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*