บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้า และพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้า และพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ กำลังไฟฟ้าจริง (P) กำลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ (Q) กำลังไฟฟ้าปรากฏ (S) kVA = ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า = กำลังไฟฟ้าจริง กำลังไฟฟ้าปรากฏ cos kW kVA kVA cos kVAr kVA sin หรือ kW tan ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ตัวอย่างการคำนวณ จงหาค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (PF) ถ้าพลังไฟฟ้าจริงที่วัดได้คือ 1,200 kW และค่าพลังไฟฟ้าปรากฏมีค่าเท่ากับ 1,540 kVA P = 1200 kW (Q) S = 1540 kVA cos = ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 จงหาค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (PF) ถ้าพลังไฟฟ้าจริงที่วัดได้คือ 1,200 kW และค่าพลังไฟฟ้าต้านกับมีค่าเท่ากับ 1,540 kVAr P = 1200 kW Q = 1540 kVA S = ? kVA = ดังนั้น cos = ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
ประโยชน์ที่ได้รับจากการปรับปรุง ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ประโยชน์ที่ได้รับจากการปรับปรุง ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า 1. ประหยัดค่าไฟฟ้า 2. ลดค่ากำลังสูญเสียในสาย 3. ระบบไฟฟ้าสามารถจ่ายโหลดเพิ่มมากขึ้น 4. ลดค่ากำลังสูญเสียในหม้อแปลง 5. ระดับแรงดันไฟฟ้าดีขึ้น ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 พื้นฐานไฟฟ้ากำลัง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
วิธีปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 วิธีปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า มอเตอร์ หม้อแปลง คาปาซิเตอร์ กำลังไฟฟ้าจริง (kW) กำลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ (kVAr) kVA 2 kVA 1 กำลังไฟฟ้าปรากฏ (kVA) 1 2 แหล่งกำเนิดกำลังไฟฟ้ารีแอกตีฟช่วยจ่ายให้ ได้แก่ ซิงโครนัสมอเตอร์และคาปาซิเตอร์ ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
การติดตั้งคาปาซิเตอร์ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 การติดตั้งคาปาซิเตอร์ แรงดันต่ำ สตาร์ตเตอร์ M C โหลดแรงดันต่ำ 1. การติดตั้งที่โหลดแต่ละชุด 2. การติดตั้งที่กลุ่มของโหลด 3. การติดตั้งแบบศูนย์กลาง 4. การติดตั้งแบบผสม ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ตารางแสดงคุณลักษณะข้อดีและข้อเสียในการติดตั้งคาปาซิเตอร์แต่ละแบบ การติดตั้ง คุณลักษณะ ข้อดี ข้อเสีย ที่โหลดแต่ละชุด เป็นการเลือกขนาดคาปาซิเตอร์ต่อเข้ากับโหลดแต่ละตัว และจะสวิตซ์พร้อมกับเดินมอเตอร์ - สามารถแก้ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าที่จุดโหลด - ลดการสูญเสียและแรงดันตกในสายวงจรย่อย - ประหยัดการใช้อุปกรณ์สวิตซ์ขนาดใหญ่ - ใช้คาพาซิเตอร์ตัวเล็กหลายตัว แพงกว่าตัวใหญ่เพียงตัวเดียว - ค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ของคาปาซิเตอร์ต่ำ สำหรับมอเตอร์ที่ไม่ได้ใช้งานบ่อย ๆ ที่กลุ่มของโหลด มอเตอร์หลายตัวต่อเข้ากับ คาปาซิเตอร์ และคาปาซิเตอร์จะถูกใช้งานสอดคล้องกับขนาดโหลดที่ใช้ - ลดราคาคาปาซิเตอร์ - ลดการสูญเสียและแรงดันตกที่สายป้อนหรือสายจ่าย - โหลดที่สายป้อนหรือสายจ่ายอาจไม่แน่นอน แบบศูนย์กลาง โดยการสร้างกำลังรีแอกตีฟที่จุดใดจุดหนึ่ง จะต่อคาปาซิเตอร์เข้ากับระบบเมื่อทำงานและปลดออกเมื่องานสิ้นสุด ค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ของคาปาซิเตอร์ที่ดีที่สุด - ใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติ - ปรับปรุงระดับแรงดันทั่ว ๆ ไปดีขึ้น - ดูแลรักษาได้ง่าย - โหลดที่สายเมนและสายป้อนอาจไม่แน่นอน แบบผสม โหลดขนาดใหญ่ติดตั้งที่โหลดแต่ละชุด ส่วนโหลดอื่น ๆ จะติดตั้งเป็นกลุ่มหรือศูนย์กลาง ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
ข้อควรระวังในการใช้คาพาซิเตอร์กับมอเตอร์เหนี่ยวนำ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ข้อควรระวังในการใช้คาพาซิเตอร์กับมอเตอร์เหนี่ยวนำ ค. ไม่ปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้ากับมอเตอร์ที่ต้องการหมุนกลับทิศทาง ง. ไม่ปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้ากับรอกปั้นจั่นไฟฟ้าและมอเตอร์ลิฟต์ จ. ต้องไม่เดินมอเตอร์ใหม่อีกครั้งขณะที่มอเตอร์ยังไม่หยุดหมุน ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
ข้อควรระวังในการใช้คาปาซิเตอร์ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ข้อควรระวังในการใช้คาปาซิเตอร์ เมื่อติดตั้งคาปาซิเตอร์เข้าไปที่จุดใดแล้ว แรงดันไฟฟ้าที่ จุดนั้นจะมีค่าสูงขึ้นกว่าเดิม จุดที่จะติดตั้งคาปาซิเตอร์ควรจะมีการระบายความร้อนดีพอสมควร การติดตั้งคาปาซิเตอร์เข้ากับมอเตอร์โดยตรง ต้องเลือก คาปาซิเตอร์ให้มีขนาดเหมาะสม และ ต้องดำเนินการติดตั้ง ให้ถูกวิธี ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
ข้อควรระวังในการใช้คาปาซิเตอร์ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ข้อควรระวังในการใช้คาปาซิเตอร์ ถ้าต้องการติดตั้งคาปาซิเตอร์แบงค์ควรใช้แบบควบคุมอัตโนมัติ อุปกรณ์ไฟฟ้าบางอย่าง เช่น วงจรเรียงกระแสและเตาเผาแบบอาร์กจะสร้างฮาร์มอนิกเข้าไปในระบบ เมื่อต้องการติดตั้ง คาปาซิเตอร์ก็ต้องระวังปัญหาที่อาจจะเกิดจากฮาร์มอนิก เรโซแนนซ์ มิฉะนั้นจะทำให้คาปาซิเตอร์เสียหายทันที ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 END ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*