3105-2008 ระบบโทรคมนาคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
Photochemistry.
Rayleigh Scattering.
นางสาวจัตวา จันทร์สุวรรณ
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
วงจรสี.
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
ดาวเทียมไทยคม.
(Global Positioning System)
Personal Area Network (PAN)
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สีของแสงที่เหมาะสมกับไก่ไข่
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ระบบการสื่อสารดาวเทียม
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
ระบบโทรคมนาคม.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
Principles of Communications Chapter 1 Introduction
ครีมกันแดด (Sunscreen).
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
บทที่ 4 Modulation วิชา... เทคโนโลยีไร้สาย
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
กล้องโทรทรรศน์.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
Major General Environmental Problems
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
หน่วยที่ 3 ระบบโครงข่ายสื่อสาร จุดประสงค์การสอน
ระบบวิทยุกระจายเสียง
Chapter 02 – Wireless Transmission
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3105-2008 ระบบโทรคมนาคม

ผู้สอน อ.วีระศักดิ์ สุวรรณเพชร อาจารย์ 2 ระดับ 7 3105 - 2008 ระบบโทรคมนาคม ผู้สอน อ.วีระศักดิ์ สุวรรณเพชร อาจารย์ 2 ระดับ 7 Homepage: http://www.technicyaso.ac.th/teacher/veerasak E-mail: Suwanapetch.vee@chaiyo.com

บทที่ 2

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และการนำไปใช้งาน

ทบทวนคำอุปสรรค

คำอุปสรรค ชื่อคำ ชื่อย่อ ตัวเลขยกกำลัง Tera T 1012 Giga G 109 ชื่อคำ ชื่อย่อ ตัวเลขยกกำลัง Tera T 1012 Giga G 109 Mega M 106 Kilo k 103 Milli m 10-3 Micro u 10-6

คำอุปสรรค ชื่อคำ ชื่อย่อ ตัวเลขยกกำลัง Nano n 10-9 Pico p 10-12 ชื่อคำ ชื่อย่อ ตัวเลขยกกำลัง Nano n 10-9 Pico p 10-12 จงแปลง 31. 5 kHz ให้เป็น Hz

สเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติ

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ลักษณะการเกิดคลื่น

คลื่นวิทยุกระจายออกจากสายอากาศ

ความถี่ หมายถึง จำนวนรอบของคลื่นที่เกิดซ้ำในหนึ่งคาบเวลา ( Cycle ) ความยาวคลื่น หมายถึง ระยะที่คลื่นเคลื่อนที่ไปได้หนึ่งรอบ มีหน่วยเป็น เมตร

การคำนวณความยาวคลื่น แทนด้วย แลมดา (l ) มีค่าเท่ากับความเร็วแสงใน 1 วินาที = 300,000,000 เมตร / วินาที

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าต่าง ๆ ของคลื่นวิทยุ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างค่าต่าง ๆ ของคลื่นวิทยุ คือ โดย C = ความเร็วแสง 3 *108 เมตรต่อวินาที f = ความถี่ มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ ( Hz )  = ความยาวคลื่น มีหน่วยเป็นเมตร ( m) T = คาบ

ความถี่กับการใช้งาน แถบความถี่ ชื่อย่าน การใช้งาน แถบความถี่ ชื่อย่าน การใช้งาน 3-30 kHz VLF :Very Low Frequency โทรศัพท์ วิทยุเดินเรือ 30-300 kHz LF : Low Frequency ระบบนำร่องเรือมหาสมุทร 300-3000 kHz MF : Medium Frequency วิทยุ AM 3-30 MHz HF : High Frequency วิทยุคลื่นสั้น 30-300 MHz VHF : Very High Frequency วิทยุ FM ,TV,VR 300-3000 MHz UHF : Ultra High Frequency TV, Cellular Radio 3-30 GHz SHF : Super High Frequency เรดาร์, ดาวเทียม 30-300 GHz EHF : Extremely High Frequency วิทยุดาราศาสตร์

ความถี่ย่าน ไมโครเวฟ

การใช้งานความถี่ไมโครเวฟ ความถี่ไมโครเวฟ การนำไปใช้งาน ประมาณ 1.0 GHz ทรานสปอนเดอร์วิทยุการบิน 1. 5 GHz เรดาร์ตรวจการทหาร 2.45 GHz เตาอบไมโครเวฟ ประมาณ 3.0 GHz เรดาร์ตรวจการสนามบิน ประมาณ 4.0 GHz เรดาร์ตรวจการทหาร 4.0 GHz สัญญาณขาลงสัญญาณดาวเทียมย่านC - Band 6.0 GHz สัญญาณขาขึ้นสัญญาณดาวเทียมย่านC - Band 7.0 GHz ข่ายส่งสัญญาณจากสตูดิโอ

การใช้งานความถี่ไมโครเวฟ ความถี่ไมโครเวฟ การนำไปใช้งาน 12.0 GHz สัญญาณขาลงสัญญาณดาวเทียมย่าน Ku-Band 18.0 GHz สัญญาณขาขึ้นสัญญาณดาวเทียมย่าน Ku-Band 24.0 GHz เรดาร์ตำรวจ

การประยุกต์ใช้งาน

ไมโครเวฟและเรดาร์

การประยุกต์ใช้งาน

รังสีเอ๊กซ์ ( X - Ray )

การประยุกต์ใช้งาน

การประยุกต์ใช้งาน

การประยุกต์ใช้งาน

การประยุกต์ใช้งาน

AM radio (535-1605 kHz)

Short Wave Frequencies: 2300-26,100 kHz Wavelengths: 11-130 meters (1 kHz = 1000 Hz = 1000 wave cycles per second) Local & International, amateurs, maritime and land mobile, point-to-point communications, industrial, scientific, citizens band, search & rescue, police, taxi drivers

Local & International, amateurs, maritime and land mobile, point-to-point communications, industrial, scientific, citizens band, search & rescue, police, taxi drivers

VHF Band Frequencies: 30-300 MHz (1 MHz = 1,000,000 Hz = 1 million wave cycles per second)

UHF Band Frequencies: 300-3000 MHz (1 MHz = 1,000,000 Hz = 1 million wave cycles per second)

TV (Channels 14-83 in US & Canada), aircraft & ship navigation, police and emergency communications

TV ( 54-88 MHz and 174-216 MHz) FM Radio (88-108 MHz)

รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet Rays)             รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มีความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz เป็นรังสีตามธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ซึ่งทำให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต สามารถทำให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้ แต่มีอันตรายต่อผิวหนังและตาคน

รังสีเอกซ์ (X-Rays)             รังสีเอกซ์ มีความถี่ช่วง 1016 - 1022 Hz มีความยาวคลื่นระหว่าง 10-8 - 10-13 เมตร ซึ่งสามารถทะลุสิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ หลักการสร้างรังสีเอกซ์คือ การเปลี่ยนความเร็วของอิเล็กตรอน มีประโยชน์ทางการแพทย์ในการตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย ในวงการอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจหารอยร้าวภายในชิ้นส่วนโลหะขนาดใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนหรือระเบิดในกระเป๋าเดินทาง และศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมในผลึก

รังสีแกมมา (r – Rays)             รังสีแกมมามีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์และสามารถกระตุ้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ มีอำนาจทะลุทะลวงสูง

แสง (Light)           แสงมีช่วงความถี่ 1014Hz หรือความยาวคลื่น 4x10-7 - 7x10-7 เมตร เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ประสาทตาของมนุษย์รับได้ สเปกตรัมของแสงสามารถแยกได้ดังนี้

สี ความยาวคลื่น (nm) ม่วง 380-450 น้ำเงิน 450-500 เขียว 500-570 ม่วง 380-450 น้ำเงิน 450-500 เขียว 500-570 เหลือง 570-590 ส้ม 590-610 แดง 610-760

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า