Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลอจิกเกต (Logic Gate).
Advertisements

Chapter 7 Poisson’s and Laplace’s Equations
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Review of Ordinary Differential Equations
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
ให้นักศึกษาลองดู Example 8.10 และ 8.11 ประกอบ
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
INC341 State space representation & First-order System
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
ขั้นตอนการประมวลผล แบบ FUZZY.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
Second-Order Circuits
Sinusoidal Steady-State Analysis
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
Electronic Circuits Design
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
Mathematical Model of Physical Systems. Mechanical, electrical, thermal, hydraulic, economic, biological, etc, systems, may be characterized by differential.
4 The z-transform การแปลงแซด
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
Ch 9 Second-Order Circuits
Electronic Circuits Design
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Ch 8 Simple RC and RL Circuits
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University 152-315 Signals and Systems สัปดาห์ที่ 4 Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ฟังก์ชันถ่ายโอน (transfer function) ของระบบ LTI ระบบมีเสถียรภาพ เมื่อเวลาเข้าสู่ค่าอนันต์ ผลตอบสนองธรรมชาติมีค่าเข้าสู่ศูนย์เรียกว่า เรียกผลตอบสนองชั่วขณะ (transient response) ผลตอบสนองบังคับเข้าสู่ค่าคงที่ค่าใดค่าหนึ่ง เรียกผลตอบสนองในสภาวะคงตัว (steady state response) Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University การวิเคราะห์ระบบ LTI ด้วยสมการอนุพันธ์แบบเชิงเส้น (System Analysis Using Linear Differential Equation) สัญญาณเอาต์พุต เป็นค่าคงที่ สัญญาณอินพุต Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University วิธีการในการหาค่า จะแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1.การหาผลตอบสนองธรรมชาติ สัญญาณเอาต์พุตขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของระบบเท่านั้นไม่ได้ขึ้นกับสัญญาณอินพุต สมการเอกพันธ์ (homogeneous equation) สมการคุณลักษณะ (characteristic equation) ของระบบ Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ค่ารากของสมการคุณลักษณะ 1. กรณีที่ มีค่าแตกต่างกันทั้งหมด 2. กรณีที่ นอกจากนั้นแตกต่างกันทั้งหมด 3. กรณีที่ ค่า นอกจากนั้นแตกต่างกันทั้งหมด มีค่าซ้ำกัน 4. กรณีที่ นอกจากนั้นแตกต่างกันหมด จะได้ Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University 2.การหาผลตอบสนองบังคับ เป็นส่วนของเอาต์พุตที่ขึ้นกับเฉพาะอินพุตเท่านั้นจึงมีรูปแบบขึ้นอยู่กับอินพุต Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University 3. การหาค่าสัมประสิทธิ์ ค่าสัมประสิทธิ์ที่ยังไม่ทราบค่าของ โดยอาศัยค่าเงื่อนไขเริ่มต้น (initial condition) ของระบบ ตัวอย่าง จงหาเอาต์พุต ของระบบนี้ เมื่อกำหนดให้อินพุต และมีพลังงานสะสมในระบบเป็น วิธีทำ 1. หาผลตอบสนองธรรมชาติ : Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University สมการคุณลักษณะของระบบนี้ ผลตอบสนองธรรมชาติ 2. หาผลตอบสนองบังคับ : Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University 3. หาค่าสัมประสิทธิ์ 1ผลตอบสนองอินพุตเป็นศูนย์ (zero-input response : เอาต์พุตจากพลังงานที่สะสมในระบบ 2 ผลตอบสนองเงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ (zero-state response : เอาต์พุตที่เป็นผลมาจากอินพุต Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่ผ่านมา จงหาผลตอบสนองอินพุตเป็นศูนย์และผลตอบสนองเงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ วิธีทำ 1. หาผลตอบสนองอินพุตศูนย์ และพลังงานสะสมในระบบ ผลตอบสนองอินพุตเป็นศูนย์ Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University 2. ผลตอบสนองเงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ : กำหนดให้พลังงานสะสมเป็นศูนย์ทั้งหมด ผลตอบสนองเงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ตัวอย่าง จงหาค่าของแรงดัน ที่เวลา กำหนดให้แรงดันเริ่มต้นที่เวลา เท่ากับ วิธีทำ KCL ที่โหนด a 1.หาผลตอบสนองตามธรรมชาติโดยกำหนดให้แหล่งจ่ายกระแสมีค่าเท่ากับศูนย์ สมการคุณลักษณะของระบบ ผลตอบสนองธรรมชาติ Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University 2.หาผลตอบสนองบังคับ (1) เแหล่งจ่ายเป็นฟังก์ชันไซน์ จากตารางที่ 5.1 สมมติค่าแรงดัน (2) อนุพันธ์ของผลตอบสนองบังคับ (2) ,(3)แทนใน (1) (3) เทียบค่าสัมประสิทธิ์ sin2t เทียบค่าสัมประสิทธิ์ cos2t Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ผลตอบสนองบังคับ

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ผลตอบสนองรวม ผลตอบสนองรวมที่เวลา เมื่อค่าเริ่มต้นของแรงดัน ผลตอบสนองรวม Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ฟังก์ชันถ่ายโอน (transfer function) ของระบบ LTI ระบบมีเสถียรภาพ เมื่อเวลาเข้าสู่ค่าอนันต์ ผลตอบสนองธรรมชาติมีค่าเข้าสู่ศูนย์เรียกว่า เรียกผลตอบสนองชั่วขณะ (transient response) ผลตอบสนองบังคับเข้าสู่ค่าคงที่ค่าใดค่าหนึ่ง เรียกผลตอบสนองในสภาวะคงตัว (steady state response) Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University กรณีอินพุตเอ๊กซ์โปเนนเชียลเชิงซ้อน เมื่อเวลาเข้าสู่ค่าอนันต์ ทำให้ผลตอบสนองชั่วขณะมีค่าเป็นศูนย์ได้ผลตอบสนองในสภาวะคงตัว ฟังก์ชันถ่ายโอนของระบบ Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ผลตอบสนองในสภาวะคงตัว กำหนดให้อินพุตโดเมนความถี่ โดเมนเวลา Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ตัวอย่าง ระบบหนึ่งมีสมการของระบบเป็น จงหา ก. ฟังก์ชันถ่ายโอน(Transfer Function)ของระบบ ข. ผลตอบสนองในสภาวะคงตัวเมื่อ วิธีทำ ก. ข. Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University ความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบสนองอิมพัลส์และฟังก์ชันถ่ายโอนของระบบ LTI การแปลงลาปลาซ Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University บล็อกไดอะแกรมของ ฟังก์ชันถ่ายโอน Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University