The Skeletal System BENJAWAN NUNTHACHAI.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
BURN หมายถึง บาดแผลที่เกิดจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ความร้อนหรือประกายจากกระแสไฟฟ้า เป็นเหตุให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อบาดเจ็บ มีผลให้เกิดอาการช็อค เนื่องจากสูญเสียน้ำเป็นจำนวนมาก.
หินแปร (Metamorphic rocks)
Group Acraniata (Protochordata)
Class Amphibia อ.แน็ต.
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ยืดน่องส่วนบน เริ่มจากท่ายืนหันหน้าหากำแพงเท้าทั้งสองข้างแยกจากกันเล็กน้อยก้าวเท้าซ้ายออกเข่าซ้ายงอ มือ ทั้งสองยันกำแพง งอขาซ้ายให้มากขึ้น พลางขยับเท้าขวาถอยไปด้านหลังยืดกล้ามเนื้อน่องขวาค้างไว้สักครู่
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
รูปร่างและรูปทรง.
Bones and joints Kritchai Bespinyowong.
Cell Specialization.
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
การบริหารร่างกายทั่วไป
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
การเจริญเติบโตของมนุษย์
พฤติกรรม 10 อันดับการทำร้ายกระดูก
การทุบเยื่อกระดาษ ภายหลังจากที่ได้เตรียมวัสดุในการผลิตกระดาษ ซึ่งได้แก่ เยื่อกระดาษ ( Pulp ) วัสดุช่วยเสริมเนื้อกระดาษ ( Loading material ) วัสดุช่วยเสริมคุณภาพพิเศษแก่เนื้อกระดาษ.
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
พัฒนาการของทารกแรกเกิดถึง 1 ปี
ABC DEFG สาขาสัตว์ศาสตร์
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
การปฏิบัติตนในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดACL Reconstruction
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ตำแหน่งของลำตัวและศรีษะ
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
EVOLUTION OF FROGS..
เครื่องดูดฝุ่น.
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
ระบบกระดูก.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การฝึกความแข็งแรงของลำตัว
Orthopedic management of osteoporosis
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
การพันผ้า (Bandaging)
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
ขาของแมลง (Insect Legs)
นิ้วหัวแม่มือกดกลางฝ่ามือ กด นับ 3 ; คลาย นับ 3 ; 5 ครั้ง
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
การเจริญเติบโตของร่างกาย
กบ Breast Stroke.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
พรพรรณ เจริญวัฒนวิญญู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คลายกล้ามเนื้อแนวสันหลัง
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
Lymphatic drainage of the head and neck
Temporomandibular joint
บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The Skeletal System BENJAWAN NUNTHACHAI

ขอบเขตเนื้อหา ประเภทของกระดูก และการทำหน้าที่ (Types of bone&Function) ส่วนประกอบภายใน กระดูก (Composition of bone) โครงสร้างของกระดูก (Structureof bones) ชื่อกระดูกในส่วนต่างๆ ของร่างกาย (Descriptive Terms) ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ข้อต่อและเอ็น (Joints & Ligaments)

Skeletal Function Shape & Form of our bodies Supporting Protecting Body movement Producing blood Storing minerals 206 Bones Important Function

(Types of bone & Function) Flat bone:รูปร่างแบน เนื้อ กระดูกแน่น(compact bone) แผ่นกระดูกบาง โค้ง - ซี่โครง(ribs) -สะบัก(scapula) -กะโหลกศีรษะ(skull ) -กระดูกหน้าอก(sternum) Irregular bone:รูปร่างแปลก -กระดูกสันหลัง(vertebrae) -กระดูกสะโพก(hipbones) -กระดูกขากรรไกร (maxillary bone) Long bones: มีความ ยาวมากกว่าความกว้าง ได้แก่ กระดูกแขน - ขา (arms & legs) Short bones :มีความ ยาวและความกว้าง พอๆกัน ได้แก่ กระดูก ข้อมือ (wrists or carpal bone) กระดูกข้อเท้า (ankles or tarsal bone)

Part of a long bone Compact bone medullar cavity red marrow Epiphysis Diaphysis Periosteum Articular cartilage Spongy bone (cancellous bone) Compact bone medullar cavity red marrow yellow marrow

Spongy bone (cancellous bone)

Compact bone : medullar cavity red marrow yellow marrow

โครงสร้างของกระดูก(Structure of bones) Long bones of the body Diaphysis : medullary cavity(contains yellow bone marrow) Epiphysis :spongy bone tissue (contains red bone marrow) Metaphysis: epiphyseal (growth) plate or hyaline cartilage Outer surface of the bone Periosteum :nerve lymphatic vessels capillaries nutrient artery

Long bones of the body : Outer surface of the bone

ส่วนประกอบภายในกระดูก (Composition of bone) Inorganic matter:67% Calcium : ฟอสเฟต คาร์บอเนต ฟลูโอไรด์ แมกนีเซียม ฟอสเฟต เกลือโซเดียม ทำให้กระดูกแข็ง ทึบ แน่นติดเป็นเนื้อเดียวกัน และประกอบกันขึ้นเป็น รูปร่าง Organic matter: 33%bone cell เส้นเลือด สารที่มีลักษณะคล้าย วุ้น(gelatinoussubstance) ทำให้กระดูกเหนียว ยืดหยุ่น และป้องกัน การหักของกระดูก

Bone Development & Growth การเพิ่มความยาวของกระดูกในส่วนที่ กระดูก Diaphysis มาบรรจบกับEpiphysis โดยมีช่วงเวลาของอายุเป็นตัวกำหนดใน การเจริญเติบโตของกระดูก การเจริญเติบโตโดยการเพิ่มความหนา และความกว้างของกระดูกที่เกิดขึ้น ภายใต้Periosteum

Osteoclasts: cells that help eat away old bone

Devision of the skeleton The Axial Skeleton (กระดูกแกน80 ชิ้น) Support & Protect the organs of head neck trunk The Skull The Sternum The Ribs The Vertebral column

Division of the skeleton Appendicular Skeleton (กระดูก รยางค์มี 126 ชิ้น) เป็น ส่วนประกอบ ของแขน- ขา The Upper Extremities The Lower Extremities The Shoulder Girdle The pelvic Girdle (sacrum & coccyx )

Anatomy of Skull

Irregular bone

Tibia &Fibula

การเคลื่อนไหวของกระดูกข้อต่อ 1.ข้อต่อเคลื่อนไหว ไม่ได้เลย เป็นข้อต่อ ที่มีเยื่อมายึดเกาะ ระหว่างกระดูก และ เคลื่อนไหวไม่ได้ เช่น รอยต่อกระดูก กะโหลกศีรษะ 2. ข้อต่อเคลื่อนไหว ได้บ้างเล็กน้อย เป็นข้อต่อที่ เคลื่อนไหวได้บ้าง แต่ไม่มากนัก เช่น ข้อต่อที่กระดูกสัน หลัง

3. ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก 3. ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก เป็นข้อต่อที่มีช่องว่างหรือมีโพรง (Aticular Cavity) ระหว่าง กระดูกที่มาต่อกัน มีถุงหุ้มปลายแคปซูล (Capsule) ล้อมรอบด้วยผนังที่เรียกว่าเยื่อบุข้อต่อ (Synovial Membrane) ซึ่งจะผลิตน้ำหล่อลื่นหรือน้ำมันไขข้อ (Synovial Fluid)

ลักษณะการเคลื่อนไหวของข้อต่อต่างๆ

1. การงอ (Flexion) เป็นการเคลื่อนไหวแบบงอพับ เช่น การงอข้อศอก งอเข่า 2 1. การงอ (Flexion) เป็นการเคลื่อนไหวแบบงอพับ เช่น การงอข้อศอก งอเข่า 2. การเหยียด (Extension) เป็นการเคลื่อนไหวตรงข้ามกับ Flexion คือการเหยียดข้อต่อ 3. การกาง (Abduction) เป็นการเคลื่อนไหวแบบกางแขน กางขา ออกจากแนวกลางของลำตัว 4. การหุบ (Adduction) เป็นการเคลื่อนไหวแบบหุบแขน หุบขา เข้าหาแนวกลางของลำตัว

5. การแกว่ง (Rotation) เป็นการเคลื่อนไหวแบบแกว่งคล้ายกับลูกตุ้มนาฬิกา เช่น การแกว่งแขน 6. การหมุน (Circumduction) เป็นการเคลื่อนไหวแบบหมุนโดยรอบแบบกรวยฝาชี เช่น

Hinge Joint

Gliding Joint

Saddle Joint

Pivot joint

Condyloid joint

Q&A