สหสัมพันธ์ (correlation)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สหสัมพันธ์ (correlation)
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
Menu Analyze > Correlate
4. Research tool and quality testing
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
Criterion-related Validity
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
Correlation Tipsuda Janjamlha 06 Sep. 08. X1X2 > interval Ho: ตัวแปรทั้ง 2 ไม่มี ความสัมพันธ์กัน Ha: ตัวแปรทั้ง 2 มีความสัมพันธ์ กัน.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สหสัมพันธ์ (correlation)

ความหมายของสหสัมพันธ์ (Correlation) คือ ดรรชนีที่บอกทิศทางและขนาดของความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือมากกว่าสองตัว ที่เราเลือกมา ศึกษา ว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ ในทิศทางใด สหสัมพันธ์มีหลายชนิดขึ้นกับจำนวนตัวแปรประเภทหรือ ลักษณะหรือระดับของการวัดตัวแปร

การเลือกใช้วิธีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สหสัมพันธ์แบบต่างๆ สัญลักษณ์ ชนิดของตัวแปร x ชนิดของตัวแปร y Pearson Product Momet r, rxy ต่อเนื่อง Spearman rank order rsρ Phi (ฟี) ф Dichotomy แท้ Point Biserial rpbis Biserial rbis ต่อเนื่องแต่ถูกทำให้เป็นDichotomy

การเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์เพียร์สันโพรดักโมเมนต์(Pearson Product Momet:rxy)ใช้สำหรับหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวซึ่งตัว แปร ทั้ง 2 เป็นตัวแปรต่อเนื่อง ( Continuous variable)หรือเป็น ข้อมูลในมาตราอันตรภาคหรืออัตราส่วน มีสูตรคำนวณดังนี้ เมื่อ rxy คือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันดพรดักโมเมนต์ N คือ จำนวนคู่ของข้อมูล X คือ ค่าตัวแปรตัวที่ 1 Y คือ ค่าของตัวแปรที่ 2

การเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สเปียแมนแรงค์หรือแบบอันดับ (Spearman rank order: )ใช้สำหรับหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว โดยที่ตัวแปรทั้งสองนั้นเป็นข้อมูลในมาตราอันดับ (Ordinal scale)

การเลือกใช้วิธีวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สัมประสิทธิ์ฟี (Phi coefficient:ф) ใช้สำหรับหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว ที่ข้อมูลลักษณะไม่ต่อเนื่อง (Discrete)และแปรค่า ได้ 2 ค่าเท่านั้น ф = ad – bc (a+b)(c+d)(a+c)(b+d) วิธีการใช้สูตรต้องจัดข้อมูลลงในตาราง 2 × 2 ตัวแปร x x1 x2 ตัวแปร y y1 y2 a b c d

ลักษณะสำคัญของสหสัมพันธ์ แทนด้วยสัญลักษณ์ r เป็นค่าที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรสองตัวแปร หรือคะแนนสองชุดว่าคล้อย ตามกัน สอดคล้องกันหรือไม่ในระดับใด มีค่า ระหว่าง -1.00 ถึง 1.00

ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ถ้า r = +1.00 แสดงว่าตัวแปร 2 ตัวหรือคะแนน 2 ชุดนั้น คล้อยตามกัน อย่างสมบรูณ์ เช่น ถ้าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบคัดเลือกกับคะแนนผลการ เรียน=+1.00 จะมีลักษณะดังนี้ นักเรียน คะแนนสอบคัดเลือก คะแนนผลการเรียน 1 80 2 65 3 50 4 45 5 40

ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ) กรณีที่ r=+1.00 เมื่อนำคะแนนของแต่ละคนมาเขียนจุดกราฟจะมีลักษณะเป็น แนวเส้นตรงดังภาพ คะแนนผลการเรียน(y) คะแนนสอบคักเลือก(X)

ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ถ้า r = -1.00 แสดงว่าตัวแปร 2 ตัวหรือคะแนน 2 ชุดนั้น มีขึ้นลงสวนทาง กันอย่างสมบรูณ์ เช่น ถ้าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบคัดเลือกกับคะแนนผล การเรียน=-1.00 จะมีลักษณะดังนี้ นักเรียน คะแนนสอบคัดเลือก คะแนนผลการเรียน 1 80 40 2 70 50 3 60 4 5

ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ) กรณีที่ r=-1.00 เมื่อนำคะแนนของแต่ละคนมาเขียนจุดกราฟจะมีลักษณะเป็น แนวเส้นตรงดังภาพ ซึ่งจะเห็นว่ามีทิศตรงข้ามกับกรณี r=+1.00 คะแนนผลการเรียน(y) คะแนนสอบคักเลือก(X)

ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ต่อ) กรณีที่ r=0.00 แสดงว่าคะแนน 2 ชุด ไม่ขึ้นลงตามกัน ไม่สัมพันธ์กันเมื่อนำ คะแนนของแต่ละคนมาเขียนจุดกราฟมีลักษณะไม่มีทิศทางดังในภาพ คะแนนผลการเรียน(y) คะแนนสอบคักเลือก(X)

กราฟแสดงความสัมพันธ์แบบต่างๆ Y X X r = -1 r = -.6 r = 0 Y Y X X r = .6 r = 1

ตัวแปรทั้งคู่ต้องมาจากข้อมูลเชิงปริมาณ (สูงกว่าเรียงลำดับ) ตาราง Correlations จะแสดงสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (0.719)ความน่าจะเป็น (0.107) และขนาดของตัวอย่าง (6) โดยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวของมันเองเป็น 1.000 เสมอ ในที่นี้ความน่าจะเป็นแบบสองทางที่คำนวณได้คือ 0.107 ซึ่งมีค่าสูงกว่า 0.05 จึงสรุปว่าคะแนนสอบวิชา X และ Y ไม่มีความสัมพันธ์กัน ตัวแปรทั้งคู่ต้องมาจากข้อมูลเชิงปริมาณ (สูงกว่าเรียงลำดับ) ตัวอย่าง 1.1 จงหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ผลคูณโมเมนต์ระหว่างคะแนนสอบวิชา X และ Y ที่มีคู่อันดับต่อไปนี้ (39, 23), (40, 30), (33, 25), (36, 32), (45, 40), (41, 35) และทดสอบว่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กันที่ระดับ 0.05 หรือไม่ วิธีทำ ป้อนข้อมูลลงใน SPSS ดังนี้ จากข้อมูลที่ป้อนแล้วนี้ ให้คลิก Analyze Correlate Bivariate จะปรากฎหน้าต่าง Bivariate Correlations จากนั้นก็คลิก x, y ให้ไปอยู่ในช่อง Variables และเลือก Pearson แล้วคลิก OK จะได้ผลลัพธ์ต่อไปนี้