Criterion-related Validity

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษารายกรณี.
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
Management Information Systems
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
4. Research tool and quality testing
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
การเขียนรายงานการวิจัย
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
แบบสังเกต (Observation form)
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
สหสัมพันธ์ (correlation)
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
Basic Statistical Tools
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Criterion-related Validity ความเที่ยงตรงตามการพยากรณ์ (predictive validity) เป็นความสอดคล้องของผลการวัดจากเครื่องมือที่สร้างขึ้นกับผลที่คาดคะเนว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต อาจกำหนดระยะเวลาเป็นช่วงสั้นหรือช่วงยาวก็ได้ เช่น หากนักเรียนที่ผ่านการสอบคัดเลือกเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์มีผลการเรียนตลอดหลักสูตรอยู่ในเกณฑ์ดี แสดงว่าแบบทดสอบที่ใช้คัดเลือกนักเรียนนั้นมีความเที่ยงตรงตามการพยากรณ์สูง ต้องรอเวลาให้บุคคลปฏิบัติกิจกรรมที่ต้องการศึกษานั้นสักช่วงหนึ่งก่อนแล้วจึงนำผลที่ได้นั้นมาหาความสัมพันธ์กับเครื่องมือวัดที่สร้างขึ้น ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ความเชื่อมั่น (Reliability) เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่แสดงให้ทราบว่าเครื่องมือนั้นๆ ให้ผลการวัดที่สม่ำเสมอ แน่นอน คงที่มากน้อยเพียงใด หากเครื่องมือให้ผลการวัดที่สม่ำเสมอ ไม่ว่าจะนำไปใช้ กี่ครั้ง แสดงว่าเครื่องมือนั้นมีความเชื่อมั่นสูง ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ความเชื่อมั่น (Reliability) ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับเครื่องมือรวบรวมข้อมูลทางจิตวิทยาและการศึกษา มีความเกี่ยวข้องกับความเที่ยงตรงและความคลาดเคลื่อนได้ 3 ลักษณะดังนี้ (kerlinger, 1973 : 404)          1) ความเชื่อมั่นที่เกี่ยวข้องว่าเครื่องมือนั้นใช้วัดแล้ววัดอีกได้ผลเหมือนเดิม          2) ความเชื่อมั่นที่เกี่ยวข้องว่าเครื่องมือนั้นวัดได้ตรงกับสภาพความเป็นจริงของสิ่งที่ต้องการวัดตามความหมายนั้นตรงกับความถูกต้อง          3) ความเชื่อมั่นที่เกี่ยวข้องว่าเป็นความคลาดเคลื่อนในการวัดของเครื่องมือวัด ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

การตรวจสอบความเชื่อมั่น         1. การหาความเชื่อมั่นเชิงความคงที่ (Stability) ทำได้โดยใช้วิธีวัดซ้ำ คือให้ผู้ตอบกลุ่มเดียวทำแบบวัดชุดเดียวกันสองครั้งในเวลาห่างกันพอสมควร แล้วนำคะแนนทั้งสองชุดมาหาความสัมพันธ์กัน ถ้าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าสูงแสดงว่ามีความเชื่อมั่นสูง การวัดความคงที่โดยการวัดซ้ำสามารถใช้ได้กับเครื่องมือวัดที่เป็นแบบทดสอบ แบบสอบถามหรือแบบวัดเจตคติชนิดมาตราส่วนประมาณค่า โดยคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Pearson Product moment Correlation Coefficient) ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

การตรวจสอบความเชื่อมั่น 2. การหาความเชื่อมั่นเชิงความเท่าเทียมกัน (Equivalence) ทำได้โดยวิธีใช้แบบทดสอบคู่ขนาน (Parallel-form) ไปทดสอบพร้อมกันหรือเวลาใกล้เคียงกันสองฉบับกับกลุ่มเดียวกันแล้วนำคะแนนทั้งสองชุดมาหาความสัมพันธ์กัน ถ้าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าสูง แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสูง คำนวณ โดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Pearson Product moment Correlation Coefficient) ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา