การดูแลผู้ป่วยเด็กในชุมชนและ การบริหารยาในเด็ก สำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ E-learning
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
Hereditary Spherocytosis (HS)
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
Thailand Research Expo
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
ไข้เลือดออก ( Denque hemorrhagic fever )
Ovarian tumor, morbid obesity
THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.
Thalassemia Patommatat MD.
II. Chronic Debilitating diseases
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
มุ่งสู่ฝันและความเป็นหนึ่ง
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การชักและหอบ.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
Tonsillits Pharynngitis
ความสำคัญของปัญหา พันธุกรรมทางโลหิตวิทยา พบได้บ่อย ถ่ายทอดได้ ( autosomal recessive ) มีความรุนแรงมาก ตั้งแต่ตายในครรภ์ หรือตายหลังคลอด เป็นทุกข์ต่อจิตใจของผู้ป่วยและบิดา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
Thalassemia screening test
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลผู้ป่วยเด็กในชุมชนและ การบริหารยาในเด็ก สำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ พ.ญ. สุภารัชต์ กาญจนะวณิชย์ โรงพยาบาลนครพิงค์ 3 มีนาคม 2557

การดูแลผู้ป่วยเด็กในชุมชน โรคพื้นฐานที่พบบ่อย การดูแลต่อเนื่องโรคเรื้อรัง การดูแลต่อเนื่องในผู้ป่วยเด็กที่มีอุปกรณ์การแพทย์ การวางแผนดูแลสหสาขาวิชาชีพ

โรคพื้นฐานที่พบบ่อย การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน (URI) การติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ภาวะไข้ ภาวะโภชนาการผิดปกติ โรคโลหิตจาง การรับวัคซีน

โรคพื้นฐานที่พบบ่อย การจำแนกโรคร้ายแรง Sepsis Severe pneumonia Meningitis

Integrated Management of Childhood Illness : Caring for Newborns and Children in the Community _WHO2013

Integrated Management of Childhood Illness : Caring for Newborns and Children in the Community _WHO2013

Integrated Management of Childhood Illness : Caring for Newborns and Children in the Community _WHO2013

Integrated Management of Childhood Illness : Caring for Newborns and Children in the Community _WHO2013

Integrated Management of Childhood Illness : Caring for Newborns and Children in the Community _WHO2013

Integrated Management of Childhood Illness : Caring for Newborns and Children in the Community _WHO2013

Integrated Management of Childhood Illness : Caring for Newborns and Children in the Community _WHO2013

General Danger Signs 3. Blood in stool 4. Fever > 7 days 1. Cough > 14 days 2. Diarrhea > 14 days 3. Blood in stool 4. Fever > 7 days 5. Convulsion 6. Chest indrawing 7. Not able to drink/eat 8. Vomit everything 9. Unable to sleep/unconscious 10. Severe wasting 11. Edema both feet

อาการหลักนำมา ไอ/หายใจลำบาก ท้องเสีย ไข้ อาการทางหู/ เจ็บหู ประเมินภาวะโภชนาการ ประเมินภาวะซีด/เลือดจาง ประเมินวัคซีน ประเมินภาวะวิตามิน เอ ประเมินการถ่ายพยาธิ ประเมินปัญหาอื่นๆ ถ้ามี

ไอ/หายใจลำบาก Severe pneumonia/severe disease(sepsis) Danger signs Chest indrawing Stridor Pneumonia Fast breathing Cold/cough No danger signs or fast breathing

ท้องเสีย Diarrhea < 14 days Severe dehydration Some dehydration No dehydration Diarrhea > 14 days Severe persistent diarrhea Persistent diarrhea Bloody stool dysentery

Fever Fever with high/low malarial risk Very severe febrile disease Malaria unlikely Fever with measles/recent measles Severe complicated measles Measles with eyes/mouth complication measles

Ear problems Mastoiditis Acute ear infection Chronic ear infection No ear infection

Malnutrition/anemia Severe malnutrition Very low weight Not very low weight Anemia No anemia

Plan treatment Treat the child Follow up care Feeding Counseling When to return

Danger signs Not feeding well Convulsion Fast breathing Severe chest indraw Fever T>37.5 C Sub temperature T < 35.5 C Inactive / not moving

Check for jaundice Severe jaundice Jaundice age<24 hours Jaundice at palms/soles Jaundice Jaundice age > 24 hours No palms/soles No jaundice

Diarrhea? Severe dehydration refer Some dehydration No dehydration advice

others Feeding problems Low weight for age Immunization Vitamin status

การดูแลต่อเนื่องโรคเรื้อรังและ การดูแลต่อเนื่องในผู้ป่วยเด็กที่มีอุปกรณ์การแพทย์ โรคเลือดจาง โรคเลือดธาลัสซีเมีย โรคปอดเรื้อรัง โรค/ความพิการทางสมอง

โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

Treatment Iron treatment 6 mg/kg/day Iron supplement 1-3 mg/kg/day Age 6 months - 3 years

ความชุกของธาสัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติ ประเภท ร้อยละในประชากร แอลฟ่า ธาลัสซีเมีย เบต้า ธาลัสซีเมีย ฮีโมโกลบิน อี  ฮีโมโกลบีนคอนสแตน สปริง 20% ในคนกรุงเทพฯ 30% ในคนเชียงใหม่  3-9%  13% โดยเฉลี่ย 50% อีสานใต้  1-8%

โรคธาลัสซีเมียที่พบบ่อยในประเทศไทย มี 4 ประเภทใหญ่ ๆ คือ       1. Hb Bart's hydrops fetalis       2. Hb H disease       3. Homozygous β-thalassemia       4. β-thalassemia / Hb E disease

การดูแลรักษา การรักษาอย่างพื้นฐาน ก. การให้เลือด ข. การให้ยาขับเหล็ก การรักษาอย่างพื้นฐาน      ก. การให้เลือด  ข. การให้ยาขับเหล็ก  การรักษาอาการแทรกซ้อน - เป็นโรคติดเชื้อต่างๆ ได้ง่าย, ความดันโลหิตสูงภายหลังจากการรับการถ่ายเลือดหลายยูนิต , การมีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำและการอุดตันของหลอดเลือดแดงปอด การรักษาให้หายจากโรคธาลัสซีเมีย มี 2 แนวทางคือ      - การปลูกถ่ายไขกระดูก (bone marrow transplantation)      - การรักษาด้วยยีน (gene therapy)

Thalassemia การเติมเลือด มักต้องการเติมเลือดหากมีค่าHb < 7 gm% ชนิดที่ต้องการเติมเลือด ชนิดที่เติมเลือดเป็นครั้งคราว/ไม่ต้องการ การรักษาต่อเนื่องที่ชุมชน การให้ Folic acid การฉีดยาขับเหล็ก ชนิดพาหะ การติดตามที่ชุมชน

การดูแลต่อเนื่องในผู้ป่วยเด็กที่มีอุปกรณ์การแพทย์ การวางแผนดูแลสหสาขาวิชาชีพ โรค/ความพิการทางสมอง พัฒนาการ โรคระบบหายใจที่ใช่ท่อเจาะคอ โรคระบบหายใจที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ระบบการดูแลแบบองค์รวมและมีส่วนร่วมของชุมชน การดูแลระยะสุดท้าย

การดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ต้องการอุปกรณ์การแพทย์ การใช้ออกซิเจนที่บ้าน การใช้เครื่องดูดเสมหะที่บ้าน การให้อาหารทางสายยาง การใช้เครื่องช่วยหายใจที่บ้าน/รพช.

การบริหารยาในเด็ก ยาที่ใช้บ่อย ยาที่ใช้ในภาวะฉุกเฉิน ยาแก้ไข้ ยารักษาโรคหวัดและระบบทางเดินหายใจ ยารักษาโรคระบบทางเดินอาหาร ยาปฎิชีวนะ วิตามิน ยาที่ใช้ในภาวะฉุกเฉิน Adrenaline Normal saline Glucose Antihistamine Asthma drugs

ยาแก้ไข้ Acetaminophen Dose 10-15 mg/kg/dose Liver toxicity Ibuprofen ข้อควรระวัง/ข้อห้ามใช้ ในไข้เลือดออก

กลุ่มยารักษาหวัดไอ ยาแก้หวัดคัดจมูก ยาแก้ไอ ยาขับเสมหะ วิธีใช้ยาและข้อบ่งชี้ที่ชัดเจน ???

กลุ่มยารักษาโรคทางระบบทางเดินอาหาร ยาแก้ปวดท้อง ยาแก้ท้องเสีย ผงเกลือแร่

วิตามินและยาธาตุเหล็ก วิตามินรวม ยาธาตุเหล็ก ยาโฟลิค ข้อบ่งชี้และการใช้ยาเพื่อรักษาภาวะขาดหรือเสริมวิตามิน

ยาที่ใช้ในภาวะฉุกเฉิน Adreanline 0.01 mg/kg/dose NSS For shock 10-20 ml/kg/dose load Glucose 50% glucose 1 ml/kg/dose Antihistamine Chlopheniramine 0.1 mg/kg/dose Salbutamol 0.1-0.3 mg/kg/day

Thank you for your attention