ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
BY PRATIPA GEENASON MATTAYOM 4/1 CODE 15
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
แฟกทอเรียล (Factortial)
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
การแยกตัวประกอบพหุนาม
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วงรี ( Ellipse).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5 จำนวนเฉพาะ ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5

ความหมายของจำนวนเฉพาะ สำหรับทุกจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 จะมี ตัวหารที่เป็นบวกอย่างน้อยสองตัว คือ 1 และตัวมันเอง และถ้าจำนวนเต็มนั้นมีตัวหาร ที่เป็นบวกสองตัวนี้เท่านั้น จะเรียกจำนวน เต็มบวกนั้นว่า จำนวนเฉพาะ

บทนิยาม จำนวนเต็มบวก p ที่มากกว่า 1 จะเรียกว่า จำนวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ ตัวประกอบที่เป็น บวกของ p คือ 1 หรือ p เท่านั้น และเรียกจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 ซึ่งไม่ เป็นจำนวนเฉพาะว่า จำนวนประกอบ

ตัวอย่าง 11 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะมีตัวประกอบที่ เป็นบวกคือ 1 และ 11 เท่านั้น 15 เป็นจำนวนประกอบ เพราะมีตัวประกอบ ที่เป็นบวกคือ 1, 3 และ 5 13 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะมีตัวประกอบที่ เป็นบวกคือ 1 และ 13 เท่านั้น

ตัวอย่าง 18 เป็นจำนวนประกอบ เพราะมีตัวประกอบ ที่เป็นบวกคือ 1, 2,3,6,9, และ 18 21 เป็นจำนวนประกอบ เพราะมีตัวประกอบ ที่เป็นบวกคือ 1,3,7 และ 21 23 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะมีตัวประกอบที่ เป็นบวกคือ 1 และ 23 เท่านั้น

รากที่สองที่เป็นบวกของจำนวนเต็มบวก รากที่สองที่เป็นบวกของจำนวนเต็มบวก a คือ b โดยที่ b2 = a เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ √a ดังนั้น √a = b เช่น √4 = 2 √36 = 6

การหาค่ารากที่สองที่เป็นบวกโดยการประมาณ ให้ใช้แม่สูตรคูณในการประมาณหาค่ารากที่ สอง โดยให้หาตัวเลขจำนวนเต็มที่คูณกันเอง แล้วได้ค่าไม่เกินจำนวนนั้น เช่น จงหารากที่สองของ 30 วิธีทำ 5 × 5 = 25, 6 × 6 = 36 ตอบ 5.xx