แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing.
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
User Defined Simple Data Type
Data Type part.II.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Week 15 C Programming.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
Arrays.
C Programming Lecture no. 6: Function.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ตัวแปรชุดของอักขระ String
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while และ do…while
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
นิพจน์และตัวดำเนินการ
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวดำเนินการในภาษาซี
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
บทที่ 10 สตริง.
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
L/O/G/O อาร์เรย์ และฟังก์ชั่นจัดการ สตริง. วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการของอาร์เรย์ และประยุกต์ใช้ งานได้ เปรียบเทียบความแตกต่างของอาเรย์แบบต่าง.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

ข้อมูลแบบสายอักขระ (string) เป็นข้อมูลแบบแถวลำดับของตัวอักขระ จะมีความแตกต่างจากข้อมูลพื้นฐานแบบอื่นๆ เช่น จำนวนเต็ม ทศนิยม หรือ ตัวอักขระ การใช้งานจะต้องเรียกใช้คลังคำสั่ง (library) ที่ชื่อ string โดยจะต้องเรียกใช้ในส่วนบนของโปรแกรมดังนี้ #include <string.h> หลังจากเรียกใช้คลังคำสั่ง string แล้วเราสามารถใช้ฟังก์ชันต่างๆที่อยู่ในคลังคำสั่งดังนี้

strcat() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเชื่อมต่อข้อความมีรูปแบบการใช้ดังนี้ strcat(str1,str2); โดยจะนำเอาข้อความใน str2 ไปต่อท้ายข้อความ str1 เพราะฉะนั้น str1 จะต้องมีพื้นที่ในการเก็บข้อมูลเพียงพอที่จะเก็บข้อความของ str2 ด้วย

ตัวอย่างที่ 12.1 การใช้ฟังก์ชัน strcat() #include <stdio.h> #include <string.h> main() { char str1[20] = “Pluakdaeng”; char str2 = “pittayakom”; strcat(str1,str2); printf(“%s \n”,str1); getchar(); }

ผลการทำงาน Pluakdaengpittayakom

strcmp() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความแล้วส่งค่ากลับเป็นจำนวนเต็ม โดยมีรูปแบบดังนี้ strcmp(str1,str2) โดยจะส่งค่ากลับตามเงื่อนไขต่อไปนี้ ผลการเปรียบเทียบ ค่าที่ส่งกลับ str1 < str2 จำนวนเต็มลบ str1 = str2 ศูนย์ str1 > str2 จำนวนเต็มบวก ลักษณะการเปรียบเทียบของฟังก์ชัน strcmp จะทำการเปรียบเทียบทีละตัวเริ่มตั้งแต่ตัวแรกตามรหัส ascii ถ้าตัวแรกมีค่าเท่ากันก็จะเปรียบเทียบตัวถัดไป

ตัวอย่างที่ 12.2 การใช้ฟังก์ชัน strcmp() char str1[] = “name2”; int result1 = strcmp(“name1”,str1); int result2 = strcmp(str1,str1); int result3 = strcmp(“name3”,str1); printf(“%d\t”,str1); printf(“%d\t”,str2); printf(“%d\t”,str3);

ผลการทำงาน -1 0 1

strcpy() ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการคัดลอกข้อความจากปลายทางไปไว้ที่ต้นทาง โดยมีรูปแบบดังนี้ strcpy(ปลายทาง,ต้นทาง); โดยโปรแกรมจะทำการคัดลอกข้อความจากต้นทางไปไว้ที่ปลายทาง

ตัวอย่างที่ 12.3 การใช้ฟังก์ชัน strcpy() char str1[20]; strcpy(str1, “Happy Birthday”); printf(“%s”,str1);

ผลการทำงาน Happy Birthday

strlen() ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับจำนวนตัวอักขระในสายอักขระนั้นๆ (ไม่รวม \0) โดยมีรูปแบบดังนี้ strlen(str1);

ตัวอย่าง 12.3 การใช้ฟังก์ชัน strlen() char str1[] = “Computer 40202”; printf(“%d\n”, strlen(str1)); printf(“%d\n”,strlen(“C Programming”));

ผลการทำงาน 14 13