กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
การนับเบื้องต้น Basic counting
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องและตั้งใจทำตามกำลังความสามารถของตนเอง ภายในเวลาที่กำหนดให้
แบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
แฟกทอเรียล (Factortial)
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
เรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวน โรงเรียนบุรพรัตน์วิทยาคาร
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่สิ่งที่ไม่แตกต่างกัน
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล คณิตศาสตร์ 1 กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ ครูสหรัฐ สีมานนท์ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล

จุดประสงค์การเรียนรู้ หาจำนวนวิธีที่เกิดจากกฎการ นับเบื้องต้นได้ 2. เขียนจำนวนที่กำหนด ให้อยู่ในรูปแฟกทอเรียลได้ 3. แก้สมการที่มีแฟกทอเรียลได้

หัวข้อการศึกษา 1. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ 2. แฟกทอเรียล

กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ 1. กฎเกณฑ์การคูณ 2. กฎเกณฑ์การบวก

กฎเกณฑ์การคูณ การกระทำอย่างแรกทำได้ n1 วิธี ต่อเนื่องจนถึงอย่างที่ k ได้ nk วิธี จำนวนวิธีที่ทำได้ทั้งหมด n1x n2 x n3 x... x nk วิธี

ตัวอย่างที่ 1 โยนเหรียญ 1 เหรียญ พร้อมกับ ลูกเต๋า 1 ลูก จะมีจำนวนวิธีที่ เกิดขึ้นได้กี่วิธี

ตัวอย่างที่ 2 จากตัวเลข 1,2,3,4,5,6 นำมาจัดเรียงเลข 4 หลัก โดยที่ไม่ซ้ำกันจะได้กี่จำนวน

กฎเกณฑ์การบวก การกระทำอย่างหนึ่ง ประกอบทางเลือกได้หลายทางแต่ละทางจะเกิดพร้อมกันไม่ได้ จึงนำผลที่ได้แต่ละทางมาบวกกัน

ตัวอย่างที่ 3 หยิบไพ่ 1 ใบ จากไพ่ทั้งสำรับ จงหาจำนวนที่จะหยิบได้ ไพ่โพดำ หรือ โพแดง

หมายเหตุ 1. ถ้าการกระทำใดๆ ยังไม่สิ้นสุด และมีการกระทำอื่นเกิดตามมา เราจะใช้วิธีกฎการคูณ

หมายเหตุ 2. ถ้าการกระทำใดๆ สามารถทำได้หลายกรณี โดยแต่ละกรณีสิ้นสุด ในตัวเอง เราจะใช้วิธีกฎการบวก

แฟกทอเรียล (Factorial) n แฟกทอเรียล หมายถึง ผลคูณของจำนวนเต็มบวกตั้งแต่ 1 ถึง n เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ n! อ่านว่า เอ็นแฟกทอเรียล

แฟกทอเรียล การกระจายแฟกทอเรียล

การกระจายแฟกทอเรียล

ตัวอย่างเกี่ยวกับแฟกทอเรียล เขียนจำนวนให้อยู่ในรูปแฟกทอเรียล

ตัวอย่างการหาค่าแฟกทอเรียล หาค่าจำนวนที่อยู่ในรูปแฟกทอเรียล

ตัวอย่างการหาค่าแฟกทอเรียล หาค่าจำนวนที่อยู่ในรูปแฟกทอเรียล