หม้อแปลง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
9.7 Magnetic boundary conditions
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
การคำนวณหาขนาดของฟิวส์ ใช้สูตร
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
ลำโพง (Loud Speaker).
การซ่อมทำหม้อแปลงไฟฟ้า ของ อาคาร สรส.ยศ.ทร.
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
การต่อวงจรบนแผ่นโพโตบอร์ด
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
เตาไฟฟ้า.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ความปลอดภัยในการทำงาน
1. Sequential Circuit and Application
Stepper motor.
เทคโนโลยีกับศาสตร์ จากความหมายของคำว่า "วิทยาศาสตร์" และความหมายของคำว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่นำไปใช้อธิบายได้ว่า.
ตุ๊กตามหัศจรรย์ Magic doll
DC motor.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หม้อแปลง

หลักการทำงาน หม้อแปลงหรือทรานส์ฟอร์เมอร์ (Transformer) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างหนึ่งซึ่งทำงานโดยอาศัยหลักการของการเหนี่ยวนำกระแสไฟฟ้า ซึ่งจากการทดลองของ ไมเคิล ฟาราเดย์ เขาได้ค้นพบว่าถ้าเอาสนามแม่เหล็กตัดผ่านขดลวดจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าที่ ขดลวด ในทางกลับกันถ้าเอา ขดลวดมาตัดสนามแม่เหล็กก็จะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวดได้เช่นกัน ซึ่งหม้อแปลงก็ทำงานในพื้นฐานการทำงานดังกล่าว

1.ทิศของเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศเดียวกับนิ้วหัวแม่มือ 2. ทิศของกระแสไฟฟ้าทิศเดียวกับนิ้วที่เหลือ

วงจรภายในหม้อแปลง เมื่อเราเอาลวดทองแดงเส้นหนึ่งมาขดเป็นขดลวดจำนวนหลาย ๆรอบแล้วจ่ายไฟฟ้าผ่านเข้าไป ลวดเส้นนี้จะแสดงคุณสมบัติของตัวเหนี่ยวนำนี้จะเกิดขึ้นในรูปของการเปลี่ยนแปลงพลังงานสนามแม่เหล็ก ลวดที่พันเป็นขด ๆ เราเรียกว่า คอยล์ (Coil) ในการทรานส์ฟอร์เมอร์จะเป็นการเอาลวดอาบน้ำยาพันรอบแกนอย่างน้อย 2ชุดเมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าสลับเข้าที่ขดใดขดหนึ่งทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าขึ้น ในอีกขดหนึ่งได้ การเหนี่ยวนำและแรงเคลื่อนไฟฟ้าจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับตัวแปร 4 ประการด้วยกันคือ

1.   อัตราส่วนระหว่างจำนวนรอบระหว่างขดไฟเข้า (Primary) กับจำนวนขดไฟออก (Secondary) หากขดไฟเข้ามากกว่าขดไฟออกแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ได้ออกมาทางขดไฟออกจะต่ำลงที่เรียนกันว่า สเต็บดาวน์(step-down) หรือแปลตามตัวว่าหม้อแปลงลง หากขด secondary มีจำนวนรอบมากกว่าขด primary แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ได้ออกมาจะสูงขึ้น เราเรียกกันว่า สเต็บอั๊พ (Step-up) มีความสัมพันธ์ระหว่างแรงเคลื่อนสามารถหาได้จากสูตร

2.   ขนาดของขดลวด หากหน้าตัดของขดลวดที่นำมาพันมีพื้นที่มาก จำนวนกระแสจะจ่ายได้มากขึ้น แต่มิใช่ว่าขด secondary พันด้วยลวดเส้นโตจะจ่ายการแสได้มากต้อง มองทางด้านกำลัง (Power) ด้วย เพราะหากขด primary จ่ายกำลังด้วย ซึ่งหากขด primary จ่ายกำลังไฟมาน้อย ขด secondary จะจ่ายกำลังไฟออกมามากก็ไม่ได้ เมื่อเขียนความสัมพันธ์ทางด้านกำลังจะ ได้ดังนี้ กำลังวัตต์ทาง Primary = กำลังวัตต์ทางSecondary

ข้อควรจำ หม้อแปลงจะใช้งานกับวงจรกระแสสลับเท่านั้น การป้อนไฟฟ้ากระแสตรงให้กับหม้อแปลงเป็นเวลานาน หรือใช้หม้อแปลงผิดจากความถี่ที่กำหนดอาจทำให้หม้อแปลงไหม้ และเสียหายอย่างถาวร