กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ การให้บำเหน็จความชอบ การกันเป็นพยาน การลดโทษ และการให้ความคุ้มครองพยาน พ.ศ. ๒๕๕๓
หลักการ ๑. คุ้มครองเฉพาะข้าราชการพลเรือนสามัญ ๑. คุ้มครองเฉพาะข้าราชการพลเรือนสามัญ ๒. จำกัดกรณีที่จะให้ความคุ้มครอง : ทุจริตต่อหน้าที่ และ ประพฤติมิชอบที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามมาตรา ๘๕ (๑) ๓. ข้าราชการที่จะได้รับการคุ้มครอง ได้แก่ ผู้ให้ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อทางราชการ และผู้ที่อาจถูกกล่าวหาว่ากระทำผิด วินัยร่วมกันที่ให้ถ้อยคำในฐานะพยาน
หลักการ (ต่อ) ๔. กำหนดให้การให้ข้อมูลตามกฎ ก.พ. นี้เป็นการปฏิบัติหน้าที่ ราชการ ๕. การให้ข้อมูลต้องเป็นประโยชน์และเป็นผลดียิ่งต่อทางราชการ ๖. กำหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของการให้ความคุ้มครองไว้ ๗. วางกระบวนการในการขอความคุ้มครองไว้ ๒ ระดับ คือ ผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ กับสำนักงาน ก.พ.
หลักการ (ต่อ) ๘. มาตรการคุ้มครองยึดหลักการตามมติคณะรัฐมนตรีปี ๒๕๔๒ และความในวรรคท้ายของมาตรา ๙๘ ๙. ไม่ถือว่าการให้ข้อมูลฯ เป็นความผิดวินัย ๑๐. การกันผู้ร่วมกระทำผิดเป็นพยาน ต้องเป็นกรณีที่ไม่อาจหา พยานหลักฐานอื่นมาพิสูจน์ความผิดได้ และอาจลดโทษแก่ ผู้เป็นพยานได้ภายในกรอบของกฎหมาย ๑๑. การให้บำเหน็จความชอบควรยึดหลักการตามมาตรา ๗๔
โครงสร้างกฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ ให้บำเหน็จความชอบ การกันเป็นพยาน การลดโทษ และการให้ความคุ้มครองพยาน พ.ศ. ๒๕๕๓ - วันบังคับใช้ : ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา - คำนิยามศัพท์ : “วินัย” “พยาน” - หมวด ๑ บททั่วไป - หมวด ๒ การคุ้มครองพยาน - หมวด ๓ การกันเป็นพยาน และการลดโทษ - หมวด ๔ การให้บำเหน็จความชอบเป็นกรณีพิเศษ
- ผู้ที่จะได้รับความคุ้มครอง - ลักษณะของข้อมูล หมวด ๑ บททั่วไป - ผู้ที่จะได้รับความคุ้มครอง - ลักษณะของข้อมูล - ผลของการให้ข้อมูลหรือให้ถ้อยคำที่ได้รับความคุ้มครอง ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าที่ อาจได้รับความชอบเป็นกรณีพิเศษ ไม่ถือว่าการให้ข้อมูลหรือถ้อยคำเป็นความผิดวินัย - การรายงานการได้รับข้อมูล
หมวด ๒ การคุ้มครองพยาน - ผู้มีหน้าที่ในการให้ความคุ้มครอง - มาตรการในการให้ความคุ้มครอง - วิธีการที่จะให้ความคุ้มครอง : ให้ทันที กับให้โดยมีคำขอ - ทางแก้หากไม่ได้รับความคุ้มครองหรือได้รับไม่เพียงพอ
มาตรการคุ้มครองพยาน ข้อ ๗ ผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นและผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งมีหน้าที่ให้ความคุ้มครองพยาน ดังต่อไปนี้ (๑) ไม่เปิดเผยชื่อ หรือข้อมูลใด ๆ ที่จะทำให้ทราบว่าผู้ใดเป็นผู้ให้ข้อมูลหรือให้ถ้อยคำ (๒) ไม่ใช้อำนาจไม่ว่าในทางใดหรือกระทำการอื่นใดอันเป็นการกลั่นแกล้งหรือไม่เป็นธรรม ซึ่งอาจมีผลทำให้กระทบสิทธิหรือหน้าที่ของผู้นั้นในทางเสียหาย
มาตรการคุ้มครองพยาน (ต่อ) (๓) ให้ความคุ้มครองมิให้ผู้นั้นถูกกลั่นแกล้งหรือถูกข่มขู่เพราะเหตุที่มีการให้ข้อมูลหรือถ้อยคำ (๔) ประสานงานกับพนักงานอัยการเพื่อเป็นทนายแก้ต่างคดีให้ถ้าผู้นั้นถูกฟ้องเป็นคดีต่อศาล
มาตรการคุ้มครองพยาน (ต่อ) ในกรณีที่พยานผู้ใดร้องขอเป็นหนังสือ ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งจะพิจารณาย้ายผู้นั้น หรือพิจารณาดำเนินการอื่นใดที่เห็นว่าจำเป็นเพื่อให้ผู้นั้นได้รับความคุ้มครอง โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมหรือเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาของผู้นั้น และไม่ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนหรือกระบวนการตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ก็ได้
- บทบาทของสำนักงาน ก.พ. ในการคุ้มครองพยาน การคุ้มครองพยาน (ต่อ) - ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการให้ความคุ้มครอง - บทบาทของสำนักงาน ก.พ. ในการคุ้มครองพยาน
หมวด ๓ การกันเป็นพยาน และการลดโทษ เราควรจะกันใคร เป็นพยานดี ! หมวด ๓ การกันเป็นพยาน และการลดโทษ - หลักเกณฑ์การกันเป็นพยานและระยะเวลาที่จะให้มีการกัน เป็นพยาน เราควรจะกันใคร เป็นพยานดี ! - เงื่อนไขการสิ้นสุดลงของการกันเป็นพยาน - การแจ้งเรื่องการกันเป็นพยาน - การลดโทษแก่ผู้ให้ข้อมูลหรือถ้อยคำที่มีส่วนร่วมใน การกระทำผิดวินัย
หมวด ๔ การให้บำเหน็จความชอบเป็นกรณีพิเศษ - การให้บำเหน็จความชอบแก่ผู้ให้ข้อมูลหรือถ้อยคำซึ่งมิใช่ ผู้กระทำผิดวินัยหรืออาจถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย - เงื่อนไขการให้บำเหน็จความชอบเป็นกรณีพิเศษ