การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 เป้าหมายพื้นที่ ( หมู่บ้าน ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ ฯลฯ )  เป้าหมายบุคคล ( ใคร เพศ อายุ อาชีพ ฯลฯ )  เป้าหมายตัวยา ( ชนิดยา / สารเสพ ติด ปริมาณ.
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
เทคนิคการออกสอบสวนโรค สุทธิลักษณ์ หนูรอด นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
จังหวัดนครปฐม.
ข้อพึงปฏิบัติเพื่อ ป้องกันตนเอง จากไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 กิน ร้ อ น ช้อน กลา ง ล้าง มื อ.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
ปัญหาสุขภาพตำบลสำนักท้อน  แบ่งตามกลุ่มอายุ  แบ่งตามโรค - โรคติดต่อ - โรคไม่ติดต่อ  แบ่งตามปัญหาสังคม - ยาเสพติด - อุบัติเหตุ  ปัญหาของ รพ. สต  ปัญหาของ.
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายระดับตำบล
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
3. ทีม อสม. สุ่มแลกเปลี่ยนหมู่บ้าน 3 เดือน/ครั้ง
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน

การเฝ้าระวังเหตุการณ์ คืออะไร??? คือ การเฝ้าระวังโรค และ ภัย จากข่าว ซึ่ง การเฝ้าระวังโรค มี หลากหลายวิธี ที่เห็นเป็นประจำคือ การเฝ้าระวังกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ามา รับการรักษาที่สถานบริการ อีกอย่างคือ การเฝ้าระวังจากข่าวการเจ็บป่วยในชุมชน

ใครบ้าง ที่จะเป็นผู้เฝ้าระวังเหตุการณ์ ในชุมชนของเรา ยกตัวอย่าง เช่น เกิดโรคอุจจาระร่วง ในครอบครัวหนึ่ง (พ่อ แม่ ลูก ปู่) ผู้ที่จะแจ้งข่าวนี้จะเป็นใครบ้าง?

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุข อาสาสมัครอื่นๆ เพื่อน เพื่อนบ้าน ผู้ร่วมงาน กำนัน/ ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. /เทศบาล นักการเมืองท้องถิ่น ครู ตำรวจ ผู้สื่อข่าวในท้องถิ่น ผู้ดำเนินรายงการวิทยุชุมชน ชมรมต่างๆ ที่มีในชุมชน คลินิกเอกชน ร้านขายยา พระ เณรที่วัด เจ้าของร้านค้าปลีกในชุมชน

เกณฑ์ในการแจ้งข่าว ( ทั้งเหตุการณ์เกิดโรค และปัจจัยเสี่ยง) จะแจ้งข่าวอะไรบ้าง??? เกณฑ์ในการแจ้งข่าว ( ทั้งเหตุการณ์เกิดโรค และปัจจัยเสี่ยง)

1. โรค หรือ กลุ่มอาการป่วยที่พบบ่อยในชุมชน 1.1 มีผู้ป่วยที่ป่วยพร้อมกันหลายคน ด้วยอาการแบบเดียวกัน - อุจจาระร่วง - อาหารเป็นพิษ - ไข้เลือดออก - ไข้ ปวดข้อ ออกผื่น - โรคอุปทานหมู่ - ผู้ป่วยที่มีอาการป่วยคล้ายๆ กัน เป็นกลุ่มก้อน

1. โรค หรือ กลุ่มอาการป่วยที่พบบ่อยในชุมชน 1.2 ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคสำคัญในพื้นที่ รวมถึงบุคคลที่สงสัยว่าจะป่วย - อหิวาตกโรค (อุจจาระร่วงอย่างแรง) - โรคมือเท้าปาก (พบในเด็กเล็ก ศูนย์เด็กเล็ก) - โรคไข้เลือดออก - ไข้ปวดข้อยุงลาย (ไข้ปวดข้อ ออกผื่น) - ไข้หวัดนก - ไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 - โรคปอดบวม - โรคพิษสุนัขบ้า - โรคฉี่หนู (เลปโตสไปโรซีส)

1. โรค หรือ กลุ่มอาการป่วยที่พบบ่อยในชุมชน 1.3 มีผู้ป่วยที่รุนแรงกว่าปกติ - ถ่ายเป็นน้ำจนช๊อค เสียชีวิต - เป็นหวัดอาการรุนแรง ถึงเสียชีวิต

2. โรคใหม่ หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่ 2.1 ผู้ป่วยเป็นโรคที่คนในชุมชนไม่ เคยรู้จัก หรือเคยพบ ในพื้นที่มา ก่อน - โรคมาลาเรียมาเกิดในพื้นที่เรา -โรคที่ไม่เคยเกิดในชุมชนเราเลย - โรคที่ไม่มีใครในพื้นที่เคยพบหรือ รู้จัก 2.2 มีผู้เสียชีวิตอย่างรวดเร็วโดยไม่ ทราบสาเหตุ - โรคที่ยังไม่ทราบชื่อ อาจจะเป็น การระบาดของเชื้อชนิดใหม่ หรือเกิดจากเชื้อโรคสายพันธุ์ใหม่ที่ รุนแรง

3. เหตุการณ์ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในคนในชุมชน 3.1 มีสัตว์ป่วย ตายเป็นจำนวนมาก ที่พบบ่อย เช่น ไก่ เป็ด วัว ควาย หมู ปลา 3.2 พบอาหารและน้ำที่ไม่ปลอดภัยเป็นจำนวนมาก หลายจุดในชุมชน เช่น นมบูดในโรงเรียน เนื้อปลาปักเป้า ฯลฯ 3.3 สิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เสี่ยงต่ออันตราย เช่น น้ำเน่าเสียในคลอง บ่อน้ำ กองขยะมีกลิ่นเหม็นเน่า ตลาดที่มีหนูหรือแมลงวันชุกชุม

ควบคุมโรคได้เร็วขึ้น ขั้นตอนของการแจ้งข่าว ควบคุมโรคได้เร็วขึ้น สอบสวน ตรวจสอบ แจ้งข่าว

ขั้นตอนการแจ้งข่าว - บอกข่าวด้วยตัวเอง ที่ รพ.สต. - แจ้งทางโทรศัพท์ - แจ้งผ่านทาง อสม. - แจ้งผ่าน อบต. เทศบาล รายละเอียดในการแจ้งข่าว 1. ชื่อผู้แจ้งพร้อมเบอร์โทร. 2.โรค หรือเหตุการณ์ที่เราพบ 3.จำนวนผู้ป่วย บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต