SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1..

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ จัดทำโดย
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
Conductors, dielectrics and capacitance
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
รอยต่อ pn.
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
รูดอล์ฟ ดีเซล.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
COMPUTER.
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
กระแสไฟฟ้า Electric Current
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
นางสาวคนึงนิจ พิศณุวรเมท คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเอก เทคโนโลยีสารสนเทศ
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
แนวโน้มของตารางธาตุ.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
Touch Screen.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
เตาไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
Electronics for Analytical Instrument
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
โดย นายธีระพงษ์ มะลัยทิพย์
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
การหักเหของแสง (Refraction)
ดาวพุธ (Mercury).
1. Sequential Circuit and Application
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ Next.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1.

SUPERCONDUCTORS ความเป็นมา ซูเปอร์คอนดัคเตอร์นั้น แต่ก่อน รู้จักกันในสภาพ ของสารตัวนำ จำพวก โลหะ ซึ่งจะปล่อย ให้กระแสไฟฟ้า ไหล ผ่านโดย ไม่สูญเสียความร้อน และไม่ ต้านทาน การไหลของ กระแสไฟฟ้าได้ ก็เฉพาะ เมื่อสารตัวนำ นั้นอยู่ใน อุณหภูมิ ที่ต่ำมากๆ ชนิดที่เรียกว่า ติดลบ 273 องศาเซลเซียส หรือลบ 460 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ ที่ เรียกกันว่า ศูนย์องศาสัมบูรณ์ หรือ ศูนย์องศาเคลวิน ซึ่งถือกันว่า เป็น อุณหภูมิ ที่ปราศจาก ความร้อนโดยสิ้นเชิง

ยุคแรก การค้นพบ และวิจัย SUPERCONDUCTORS ยุคแรก การค้นพบ และวิจัย ในยุคแรก ของการ พัฒนา ตัวนำยิ่งยวด นั้น เริ่มขึ้น เมื่อนักฟิสิกส์ ชาวเนเธอแลนด์ ชื่อ ไฮค์ คาเมอร์ลิงห์ ออนเนส (Heike Kamerlingh Onnes) แห่ง มหาวิทยาลัย ลีเดน (Leiden Unive rsity) ได้ค้นพบ สภาวะการนำ ไฟฟ้ายิ่งยวด ในปี ค.ศ.1911 ซึ่งเขา ได้ใช้โลหะปรอท เป็นตัวนำ โดยการแช่แข็ง ไว้ในฮีเลียมเหลว ซึ่งมีอุณหภูมิ 4.2 องศาเคลวิน (ลบ 452 องศาฟาเรน ไฮต์) และได้พบว่า ปรอทที่อยู่ในสภาพแช่แข็งนี่ ทำหน้าที่เป็นซูเปอร์คอนดัคเตอร์ได้

SUPERCONDUCTORS ยุคที่สอง การพัฒนา ยุคที่สองของการพัฒนาซูเปอร์คอนดัค เตอร์ เริ่มขึ้น เมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ.1986 เมื่อ คาร์ อเล็ก มูลเลอร์ และโจ อันเนส จอร์จ เบดนอร์ซ นักวิจัย แห่ง ห้องปฏิบัติการของบริษัทอินเตอร์เนชั่นแนล บิว สิเนส แมชีน หรือที่รู้จักกันในนามของ ไอบีเอ็ม ได้ประสบความสำเร็จในการพัฒนาสร้างสาร ตัวนำไฟฟ้า ยิ่งยวดรุ่นใหม่ขึ้น และสามารถ ทำลายสถิติ อุณหภูมิ ที่ทำให้ เกิดการ นำไฟฟ้า ยิ่งยวด ได้ คือ ทำได้สูงถึง 30 องศาเคลวิน (ลบ 406 องศาฟาเรนไฮต์

สภาพความนำไฟฟ้ายิ่งยวด SUPERCONDUCTORS สภาพความนำไฟฟ้ายิ่งยวด ในปี ค.ศ. 1911 ออนเนส (L. Onnes) หลังจากที่ พบว่า ค่าความต้านทานไฟฟ้า ของปรอท ลดลงเป็นศูนย์อย่าง ทันทีทันใด ที่อุณหภูมิ 4.2 K แล้วนั้น เขายังพบว่า ค่าความต้านทาน ไฟฟ้า ยังคงเป็นศูนย์ ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 4.2K ออนเนส จึงได้ ประกาศว่า ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 4.2 K และเรียกสภาพใหม่นั้นว่า สภาพการนำ ไฟฟ้ายิ่งยวด

สภาพความนำไฟฟ้ายิ่งยวด SUPERCONDUCTORS สภาพความนำไฟฟ้ายิ่งยวด กฎเกี่ยวกับการเกิดสภาพการนำไฟฟ้ายิ่งยวด ได้ว่า 1. สภาพการ นำไฟฟ้ายิ่งยวด จะปรากฏ ในธาตุ 2 กลุ่ม ใหญ่ๆ คือ - กลุ่ม่ธาตุ ในหมู่หัวต่อ (transition element) และ - กลุ่มในธาตุหมู่ IIB , IIIA , IVA 2. สภาพ การนำไฟฟ้ายิ่งยวด จะไม่ปรากฏใน - สารแม่เหล็กเฟอร์โร (ferromagnetic) , - สารแม่เหล็กแอนติเฟอร์โร (antiferromagnetic) - สารฉนวน , สารกึ่งตัวนำ , ธาตุในหมู่ IA , IIA และ กลุ่มธาตุหายาก(rare earth element) 3. สภาพ การนำไฟฟ้ายิ่งยวด จะเกิด เมื่ออิเล็กตรอน วงนอกสุด ของอะตอม อยู่ ระหว่าง 2.8 เท่านั้น

ค่าสนามแม่เหล็กวิกฤติ SUPERCONDUCTORS ค่าสนามแม่เหล็กวิกฤติ จากการ ผ่าน สนามแม่เหล็ก ไปยัง ตัวนำ ไฟฟ้ายิ่งยวด ออนเนส พบว่า สนามแม่เหล็ก สามารถ ทำลาย สภาพ การนำไฟฟ้า ยิ่งยวด ให้ กลายเป็น สภาพปกติ (normal state) ได้ค่า สนามแม่เหล็ก ที่น้อยที่ สุด สามารถ ทำลาย สภาพการนำไฟฟ้า ยิ่งยวด ได้พอดี จะเรียกว่า สนามแม่เหล็กวิกฤติ (Critical magnetic field) สนามแม่เหล็กวิกฤติ จะขึ้น กับอุณหภูมิ ด้วย คือที่ อุณหภูมิวิกฤติ ค่า สนามแม่เหล็กวิกฤติ จะ เป็นศูนย์

ชนิดของตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด SUPERCONDUCTORS ชนิดของตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด สภาพ การนำไฟฟ้ายิ่งยวด สภาพปกติจะสามารถแบ่งได้ 3 สถานะคือ - สถานะปานกลาง (intermediate state) - สถานะผสม (mixedstate) - สถานะผิวนำไฟฟ้ายิ่งยวด (surface conductivity) ค่าสภาพ แม่เหล็ก ของสาร ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด ในบริเวณ ที่มีค่า ความเข้มสนาม แม่เหล็กต่างๆ กัน ผลที่ได้ จะแบ่งสาร ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด ต่างๆออกเป็น 2 ชนิดคือ 1. ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดชนิดที่ 1 หรือ อย่างอ่อน ส่วนใหญ่จะเป็นพวกธาตุต่างๆ ซึ่งจะ มีสนามแม่เหล็กวิกฤติ มีค่าสูง 2. ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดชนิดที่ 2 หรืออย่างแข็ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพวกอัลลอยและ สารประกอบ ซึ่งจะมีสนามแม่เหล็กวิกฤติ มีค่าต่ำ

ชนิดของตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด SUPERCONDUCTORS ชนิดของตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด

การประยุกต์ ใช้งานในปัจจุบัน SUPERCONDUCTORS การประยุกต์ ใช้งานในปัจจุบัน ด้านการคมนาคม ด้านการแพทย์ ด้านพลังงาน ด้านการสื่อสาร ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี