ทักษะการพัฒนาตนเองของนักปกครอง หลักสูตรนายอำเภอ รุ่นที่ 69 ทักษะการพัฒนาตนเองของนักปกครอง หลักสูตรนายอำเภอ รุ่นที่ 69 ดร.ศักดิ์ ประสานดี พม., พธ.บ., ศศ.บ., ศษ.บ. พบ.ม., DODT.
การพัฒนาตนเอง (Self Development) 1. การพัฒนาด้านร่างกาย 2. การพัฒนาด้านจิตใจ 2.1 ความคิด 2.1.1 วิเคราะห์ 2.1.2 สังเคราะห์ 2.1.3 ละเอียดรอบคอบ 2.2 ความเข้าใจ 2.3 ความรู้สึกนึกคิดและมองโลกในแง่ดี (Positive Thinking)
"อตฺตานเมว ปฐมํ ปฏิรูเป นิเวสเย" "บุคคลพึงตั้งตนเองนั่นแหละไว้ในทางที่ควรก่อนแล้วจึงสอนคนอื่น"
"ถ้าปราศจากความเข้าใจในตัวเอง ก็ไร้ประโยชน์ที่จะเรียนรู้เรื่องในผู้อื่น"
"เป็นจอมทัพจะเชี่ยวชาญสถานไหน ถ้าหากไม่ประมาทกายฝ่ายตรงข้าม ไม่สังเกตทีท่าตั้งหน้าตาม ไม่กี่ยามทำนายว่าคงปราชัย"
"จะวิเคราะห์การใดให้ใจกว้าง กำหนดวางตนไว้ในเมฆขาว แล้วจึงมองลงมาเหมือนตาดาว เพื่อเห็นขาวดำเช่นที่เป็นจริง"
“ภาษาพูดใช่เข้าท่าทุกกาละ เราควรจะใช้กายใจควบไปบ้าง ตัวอย่างเช่นภาษาของท่าทาง แถมอีกอย่างที่เข้าท่าภาษาใจ”
"คนเก่งงานเขายอมรับยอมนับถือ แต่ยังยื้อยึดใจเขาไม่ได้ ต้องเก่งทางสมาคมประสาไป จึงใครใครเขาจะเล็งว่าเก่งจริง"
ความจำเป็นต้องพัฒนาตนเอง เป็นจิตสำนึกว่ามนุษย์ทุกคนสามารถเรียนรู้ และฝึกฝน เพื่อพัฒนาตนเองได้ มนุษย์ทุกคนสามารถพัฒนาไปสู่ระดับการมีอิสระทางความคิด และการกระทำที่ถูกต้อง มนุษย์จำเป็นต้องเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อนำ ไปสู่การมีชีวิต ที่มีคุณภาพ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน สามารถตัดสินใจเรื่องของตนเองได้อย่างชาญฉลาด ชีวิตเริ่มต้นใหม่ได้เสมอ ไม่มีสิ่งใดสายเกินไป และไม่มีสิ่งใดที่ปรับปรุงแก้ไขไม่ได้
ตัวแบบการพัฒนาตน/ทีมแบบวิทยาศาสตร์ ค้นหาปัญหา รวบรวมข้อมูล ประเมินผล นำแผนปฏิบัติ ตรวจสอบ วินิจฉัย วางแผนแก้ไขปัญหา
ตัวแบบการพัฒนาตน/ทีมแบบญี่ปุ่น P - วางแผน A - ตั้งมาตรฐานทำงาน D - ปฏิบัติตามแผน C – ตรวจสอบ
ตัวแบบการพัฒนาตน/ทีมแบบพุทธศาสนา รู้จักปัญหา รู้วิธีปฏิบัติเพื่อบรรลุถึงเป้าหมาย รู้จักสาเหตุของปัญหา รู้จักเป้าหมายที่ต้องการ
ตัวแบบการพัฒนาตน/ทีมของ Kurt Lewin Unfreeze ลดอัตตา Refreeze สร้างความยั่งยืน Change ปรับเปลี่ยน
ตัวแบบการพัฒนาตน/ทีม ตรีมูรติ พระนารายณ์ ผู้ทำลาย พระวิษณุ ผู้ดูแลรักษา พระพรหม ผู้สร้าง
การพัฒนาตนเองของ Stephen R. Covey The 8 Habits (พึ่งพาผู้อื่น พึ่งพาตนเอง พึ่งพาซึ่งกัน) เริ่มต้นก่อน (Proactive) เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ ทำตามลำดับความสำคัญ คิดแบบชนะ/ชนะ เข้าใจคนอื่นก่อนจะให้คนคนอื่นเข้าใจเรา ประสานพลัง ลับเลื่อยให้คม เสียงจากภายใน
การพัฒนาตนเองแบบ Peter M. Senge การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) ความเชี่ยวชาญในการสร้างพลังแห่งตน (Personal Mastery) 3. แบบจำลองความคิด (Mental Models) 4. สร้างวิสัยทัศน์ร่วม (Building Shared Vision) 5. เรียนเป็นทีม (Team Learning)
การพัฒนาตน/ทีมงาน เพื่อการพัฒนาองค์กร ต้องเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันขององค์กร โดยการใช้คำถามต่อไปนี้ อะไรคือความสำเร็จของเรา/องค์กร ในรอบปีที่ผ่านมา อะไรคือปัจจัยบีบคั้น ท้าทายเรา/องค์กร อะไรคือความคาดหวังของเรา/ทีม
หัวข้อการเรียนรู้ อะไรคือ “หัวใจ” หรือ “แก่นแท้” ของการทำงานเป็นทีม เริ่มต้นเป็นทีมที่ดี เริ่มต้นตรงไหน กระบวนการสร้างทีม ปฏิบัติการอย่างไร ทีมงานที่เข้มแข็ง ทำงานอย่างไร ทีมจะดีอย่างยั่งยืน ทำอย่างไร
ลักษณะการรับรู้ของผู้ฟัง การอ่าน การได้ยิน การได้เห็น การได้ยินและได้เห็น การพูด การพูดและทำ 10% 20% 30% 50% 70% 90%
ปรัชญาการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ “คุณสอนเด็กให้เรียนรู้ได้ แต่คุณทำได้แค่ช่วยให้ผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้เท่านั้น” Knowles
การพัฒนาตน ได้ทั้งผลงาน + ความสุข
กระบวนการสร้าง Team Work ตามแนวทางของ Kurt Lewin การละลาย การลดอัตตา การเปิดใจ ปรับใจ พร้อมรับ (Unfreeze) การเปลี่ยนแปลง – เติมความรู้ใหม่ (Change) การสร้างความยั่งยืนของความรู้ และพลังการเรียนรู้ (Refreeze)
เทคนิคการทำงานเป็นทีมสู่ความสำเร็จ บรรยากาศการทำงานโดยทั่วไป มีลักษณะไม่เป็นทางการมากมากนัก มีการอภิปรายปัญหาในการทำงานร่วมกันอย่างกว้างขวาง สมาชิกภายในทีมงานแต่ละคน ต่างก็เข้าใจในบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของตนและวัตถุประสงค์ของทีมงานได้เป็นอย่างดี
สมาชิกแต่ละคนต่างก็ยอมรับฟังความคิดเห็นของกันและกัน แม้สมาชิกจะมีความเห็นไม่ตรงกันหรือไม่ลงรอยกัน ก็มิได้บังคับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้องยอมตาม โดยใช้อำนาจบังคับ การตัดสินใจของทีมงานส่วนใหญ่ มักจะแสดงออกมาในรูปความเห็นร่วมกันของทุกฝ่าย
มีการมอบหมายการทำงานให้สมาชิกภายในทีมอย่างเป็นกิจจะลักษณะ และแต่ละคนก็จะยอมรับในงานที่ได้รับมอบหมายนั้น ๆ ด้วยความเต็มใจ หัวหน้าทีมงานจะพยายามอย่างยิ่งที่จะไม่ใช้อำนาจครอบงำทีมงาน ทีมงานตระหนักอยู่เสมอเกี่ยวกับภารกิจของทีมงาน ซึ่งมักจะมีการตรวจสอบหรือทบทวนการทำงานของทีมอยู่เสมอ ๆ
มีการมอบหมายการทำงานให้สมาชิกภายในทีมอย่างเป็นกิจจะลักษณะ และแต่ละคนก็จะยอมรับในงานที่ได้รับมอบหมายนั้น ๆ ด้วยความเต็มใจ หัวหน้าทีมงานจะพยายามอย่างยิ่งที่จะไม่ใช้อำนาจครอบงำทีมงาน ทีมงานตระหนักอยู่เสมอเกี่ยวกับภารกิจของทีมงาน ซึ่งมักจะมีการตรวจสอบหรือทบทวนการทำงานของทีมอยู่เสมอ ๆ
สรุปบทเรียนการทำงานเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จ 1 “คุณมีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้อื่น ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตลอดเวลา แต่การมีส่วนร่วมกับผู้อื่นนั้น คุณเป็นคนหนึ่งที่ช่วยให้ประสบความสำเร็จหรือไม่”
“คนที่เอาแต่แสวงหาลาภ ยศ ชื่อเสียง ไม่มีวันประสบความสำเร็จอย่างที่หวัง 2 “คนที่เอาแต่แสวงหาลาภ ยศ ชื่อเสียง ไม่มีวันประสบความสำเร็จอย่างที่หวัง หากแต่ความสำเร็จใด ๆ ก็ตาม จะเกิดจากการที่คนมารวมกัน เพื่อแสวงหาเป้าหมายอย่างเดียวกัน
3 “เรียนรู้การเป็นผู้นำที่รู้จักรับใช้ผู้อื่น มากกว่าการชอบใช้ผู้อื่น ให้ตอบสนองความต้องการคุณ ก็จะทำให้คุณเผชิญกับความขัดแย้งน้อยลง”
“จะหนักแค่ไหน ไม่สำคัญดอก สิ่งที่สำคัญที่สุด ก็คือ คุณกับทีมงานของคุณ 4 “จะหนักแค่ไหน ไม่สำคัญดอก สิ่งที่สำคัญที่สุด ก็คือ คุณกับทีมงานของคุณ จะร่วมกันแบกมันได้อย่างไร”
“เมื่อยามที่คุณทำงานร่วมกับทีมงานของคุณ 5 “เมื่อยามที่คุณทำงานร่วมกับทีมงานของคุณ คุณสังเกตไหมว่า มีเสียงหัวเราะเกิดขึ้น ถ้าคุณหัวเราะกับทีมของคุณได้ คุณก็ทำงานร่วมกันอย่างมีความสุขได้”
ไม่จำเป็นต้องเป็นทีมงานที่ได้ชัยชนะทุกครั้ง แต่ทีมงานที่ดีที่สุด 6 “ทีมงานที่ดีที่สุด ไม่จำเป็นต้องเป็นทีมงานที่ได้ชัยชนะทุกครั้ง แต่ทีมงานที่ดีที่สุด ต้องเป็นทีมงานที่ทำงานร่วมกันได้ดีที่สุด”
“การทดสอบความเป็นผู้นำทีม คือการทำให้คำว่า ตัวเรา 7 “การทดสอบความเป็นผู้นำทีม คือการทำให้คำว่า ตัวเรา กลายเป็นคำว่า พวกเรา”
8. สูตรสำเร็จของทีมผู้ชนะ 8. สูตรสำเร็จของทีมผู้ชนะ การนำทีมฟันฝ่าสู่ความสำเร็จในการเป็นชัยชนะได้นั้น ผู้เล่นทุกคน ต้องเป็นผู้ที่ทรงคุณค่า ดังนี้ มองเห็นในสิ่งที่ควรจะเป็น ไม่ใช่เห็นสิ่งที่เป็นอยู่ ตระหนักในคุณค่าของสมาชิกทีมคนอื่น ๆ ทำให้เห็นเป็นตัวอย่าง เข้าใจภาพรวมทั้งหมดของงาน สร้างความรักใคร่ผูกพันภายในทีม นำความสำเร็จกลับมา เรียนรู้ข้อผิดพลาด สร้างขวัญและกำลังใจให้กับทีม
9 ให้ทีมงานของคุณตอบคำถามต่อไปนี้ว่า “ถูกต้องครับ” ให้ทีมงานของคุณร่วมกันตอบคำถามต่อไปนี้ว่า ถูกต้องหรือไม่ พวกเราไว้วางใจซึ่งกันและกันหรือไม่ พวกเราห่วงใย เอาใจใส่ซึ่งและกันหรือไม่ สมาชิกในทีมสามารถพูดคุยกันได้อย่างเปิดเผยหรือไม่ พวกเราเข้าใจจุดมุ่งหมายของทีมหรือไม่ พวกเรามุ่งมั่นที่จะบรรลุเป้าหมายของทีมหรือไม่ พวกเราเปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนใช้ความสามารถอย่างเต็มที่หรือไม่ พวกเราจัดการกับความขัดแย้งอย่างราบรื่นหรือไม่ พวกเราต่างมีส่วนร่วมกันในทีมหรือไม่ พวกเรารู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของทีมหรือไม่
สวัสดีครับ